Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10149
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโกศล มีคุณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเจียรนัย ทรงชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัทรพร ชมพูนุช-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-10-31T03:25:10Z-
dc.date.available2023-10-31T03:25:10Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10149-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่ รอคอยของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกกับไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนา การตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่รอคอย และ (2) หาประเภทของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับประโยชน์ มากที่สุดจากการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่รอคอย กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนวัยรุ่นชายและหญิง อายุระหว่าง 10-13 ปี จากโรงเรียน บ้านพลอย จังหวัดปทุมธานี ปีการศึกษา 2550 จำนวน 60 คน ทำการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาการตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่รอคอย เครื่องมือรวบรวมข้อมูล ได้แก่ (1) แบบวัด จิตลักษณะจำนวน 4 แบบวัด คือ แบบวัดการตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่รอคอย แบบวัดแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธิ์ แบบวัดความเชื่ออำนาจในตน และแบบวัดการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม มีค่าความเที่ยง เท่ากับ .82, .74,.67 และ .60 ตามลำดับ (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักในคุณค่า ของสิ่งที่รอคอย จำนวน 12 กิจกรรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อ พัฒนาการตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่รอคอย มีการตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่รอคอยสูงกว่า นักเรียนวัยรุ่นที่ไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการตระหนักใน คุณค่าของ สิ่งที่รอคอย ที่ระดับนัยสำคัญ .001 และ (2) นักเรียนที่มีความพร้อมทางจิตต่างกัน เมื่อได้รับ การฝึกการตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่รอคอย ได้รับประโยชน์ไม่ต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.427-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectจิตวิทยาวัยรุ่นth_TH
dc.subjectนักเรียนวัยรุ่นth_TH
dc.titleผลการฝึกเพื่อพัฒนาการตระหนักในคุณค่าของสิ่งที่รอคอย ของนักเรียนวัยรุ่นที่มีจิตลักษณะแตกต่างกันด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวth_TH
dc.title.alternativeThe effects of training by a guidance activity package for developing the awareness of the value of waited for things of adolescent students with different psychological characteristicsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.427-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) compare the awareness of the values of the waited-for things of adolescent students who received training by a guidance activity package for developing the awareness of the values of the waited-for things with that of students who did not receive such training, and (2) identify the type of adolescent students who benefited most from the training with the guidance activity package for developing the awareness of the values of the waited-for things. The sample consisted of 60 adolescent students, aged 10-13 years, from Baanploy School, Pathum Thani province in the 2007 academic year, who were trained by a guidance activity package for developing the awareness of the values of the waited- for things. The research instruments comprised (1) four psychological characteristics measuring instruments, namely, an awareness of the values of the waited-for things scale, an achievement-motivation scale, an internal locus of control scale, and a moral reasoning scale, which had reliability coefficients of .82, .74, .67, and .60 respectively; and (2) a guidance activity package comprising 12 activities for developing the awareness of the values of the waited-for things. The data were statistically analyzed by using the percentage, mean, standard deviation, t-test and analysis of variance The research findings revealed that (1) the adolescent students who were trained by the guidance activity package for developing the awareness of the values of the waited-for things had significantly higher level of the awareness of the values of the waited-for things than those who were not trained by it at oc = .001, and (2) students with different levels of psychological readiness, when trained for developing the awareness of the values of the waited-for things did not benefit differently from the training.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons