Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10155
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ | th_TH |
dc.contributor.author | สุริยาคาร ยันอินทร์, 2515- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T03:55:45Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T03:55:45Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10155 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 2) เปรียบเทียบระดับความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และ 3) เสนอแนวทางการพัฒนาสถนศึกษาสู่ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 การวิจัยมี 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 จำนวน 329 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามวัดสภาพความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ซึ่งมีความเที่ยงเท่ากับ .99 และคำถามปลายเปิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์เนื้อหา ระยะที่ 2 แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 13 คน เก็บรวบรวมข้อมูลจากผลการประเมินและข้อเสนอแนะต่อร่างแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการตรวจสอบความเห็นและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดลงไป คือ ด้านการเรียนรู้ ด้านเทคโนโลยี ด้านระบบบุคคล ด้านความรู้ และด้านองค์การ 2) ผลการเปรียบเทียบระดับของความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 จำแนกตามขนาดของโรงเรียน โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ 3) แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 ได้แก่ บุคลากรในสถานศึกษาควรได้รับการฝึกอบรมให้มีทักษะในการคิดอย่างเป็นระบบ ควรส่งเสริมให้มีการทำงานเป็นทีม ควรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสถานศึกษาควรปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบราบ ควรมีนโยบายในการส่งเสริมการเรียนรู้ของบุคลากรอย่างชัดเจน มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและแผนกลยุทธ์ร่วมกัน และควรเสริมพลังอำนาจให้บุคลากรสามารปฏิบัติหน้าที่ได้ตรงกับบทบาท | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาการศึกษา | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้เพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for school development toward a learning organization for educational management in the 21st century of schools under the Secondary Education Service Area Office 7 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to compare the pre-learning and post-learning achievements of Mathayom Suksa III students who were taught with the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together; and (2) to study the ability to work with the others of Mathayom Suksa III students who were taught with the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together. The research sample consisted of 19 Mathayom Suksa III students of Wat Khlong Sai Community School, Wihan Daeng district, Saraburi province during the second semester of the 2016 academic year, obtained by cluster sampling. The research instruments consisted of (1) learning management plans for the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together for Mathayom Suksa III level; (2) a learning achievement test in the topic of Peacefully Living Together; and (3) an assessment form on student’s ability to work with the others. Data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that (1) the post-learning achievement of the students who were taught with the small group discussion teaching method was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .01 level of statistical significance, and (2) the students’ ability to work with the others was at the highest level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กุลชลี จงเจริญ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
167086.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 21.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License