Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10273
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจียรนัย ทรงชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorโกศล มีคุณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจินตนา บัวเผียน-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T03:36:54Z-
dc.date.available2023-11-03T03:36:54Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10273-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการพัฒนาความเชื่อในการควบคุมสาเหตุ และผลจากการกระทำของตน ของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวกับไม่ได้รับ การฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว (2) ศึกษาผลของการฝึกเพื่อพัฒนาความเชื่อในการควบคุมสาเหตุและผล จากการกระทำของตน ของนักเรียนวัยรุ่นที่มีจิตลักษณะแตกต่างกันด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว และ(3) หา ประเภทของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดจากการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนวัยรุ่นชายและหญิง อายุระหว่าง 13-15 ปี จากโรงเรียนบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2550 จำนวน 60 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็น (1) แบบวัดจิตลักษณะจำนวน 4 แบบวัด ได้แก่ แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ แบบวัดลักษณะมุ่งอนาคต - ควบคุมตน แบบวัดการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม และแบบวัดความเชื่อในการควบคุมสาเหตุและผลจาก การกระทำของตน มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .83, .71, .52 และ .81 ตามลำดับ (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อ พัฒนาความเชื่อในการควบคุมสาเหตุและผลจากการกระทำของตน จำนวน 10 กิจกรรม สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกความเชื่อในการควบคุมสาเหตุและผลจาก การกระทำของตนด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว มีความเชื่อในการควบคุมสาเหตุและผลจากการกระทำของตน สูงกว่านักเรียนวัยรุ่นที่ไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนวัยรุ่นที่มีความพร้อมทางจิตสูง เมื่อได้รับการฝึกเพื่อพัฒนาความเชื่อในการควบคุมสาเหตุและ ผลจากการกระทำของตนด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว ได้รับประโยชน์จากการฝึกไม่แตกต่างจากนักเรียน วัยรุ่นที่มีความพร้อมทางจิตต่ำ (3) ไม่พบประเภทของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับประโยชน์มากที่สุดจากการฝึก ด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว แต่พบว่า กลุ่มการฝึก ลักษณะมุ่งอนาคต - ควบคุมตน และเพศ เป็นตัวทำนาย สำคัญของความเชื่อในการควบคุมสาเหตุและผลจากการกระทำของตนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.451-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวัยรุ่น--พฤติกรรมth_TH
dc.subjectความเชื่อมั่นในตนเองth_TH
dc.subjectการแนะแนว--เครื่องมือth_TH
dc.titleผลการฝึกเพื่อพัฒนาความเชื่อในการควบคุมสาเหตุและผลจากการกระทำของตนของนักเรียนวัยรุ่นที่มีจิตลักษณะแตกต่างกันด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวth_TH
dc.title.alternativeThe effects of training by a guidance activity package for developing the belief in controlling causes and effects of one's behaviors of adolescent students with different psychological characteristicsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.451-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to (1) compare the development of the belief in controlling causes and effects of one's behaviors of adolescent students who were trained by a guidance activity package with that of adolescent students who were not trained by the guidance activity package; (2) study the effects of training by a guidance activity package for developing the belief in controlling causes and effects of one's behaviors of adolescent students with different psychological characteristics; and (3) identify the type of adolescent students who benefited most from the training with the guidance activity package. The research sample consisted of 60 purposively selected adolescent students, aged 13 - 15 years, from Ban Nasan School, Surat Thani province, in the 2007 academic year. The employed instruments consisted of (1) four tests on psychological traits, namely, an achievement motivation test, a future-oriented self control test, a moral reasoning test, and a test on the belief in controlling causes and effects of one's behaviors, with reliability coefficients of .83, .71, .52, and .81 respectively; and (2) a guidance activity package comprising 10 activities for developing the belief in controlling causes and effects of one's behaviors. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, analysis of variance, and multiple regression analysis. Research findings revealed that (1) scores on the belief in controlling causes and effects of one's behaviors of adolescent students who were trained by the guidance activity package were significantly higher, at the .05 level, than those of students who were not trained by the package; (2) adolescent students with high level of mental readiness who were trained by the guidance activity package for developing the belief in controlling causes and effects of one's behaviors did not significantly differ in the benefits received from the training from adolescent students with low level of mental readiness; and (3) the type of adolescent students who benefited most from training by the guidance activity package could not be identified, but it was found that the training group, the future-oriented self control trait, and gender were important predictors of the belief in controlling causes and effects of one's behaviorsen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons