Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ แตงตาด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนิคม ทาแดง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุรเชษฐ เวชชพิทักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมชาย กายใหญ่-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-03T07:20:27Z-
dc.date.available2023-11-03T07:20:27Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10285-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่าน เครือข่ายให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ศึกษาความก้าวหน้าทางการเรียนของผู้รับการ ฝึกอบรมที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายเครือข่ายและ (3) ศึกษาความคิดเห็นของ ผู้รับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย กลุ่มตัวอย่าง เป็นครูสายผู้สอนโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 จำนวน 30 คน ได้มาโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) ชุดฝึกอบรม ด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย เรื่อง การป้องกันและกำจัดมัลแวร์คอมพิวเตอร์ สำหรับ ครูสาย ผู้สอนโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1 ซึ่งผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นจำนวน 3 หน่วย การเรียน ประกอบด้วย หน่วยที่ 1 สามัญทัศน์เกี่ยวกับมัลแวร์คอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 2 การทำงาน ลักษณะและการแพร่กระจายของมัลแวร์คอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 3 การตรวจหา กำจัดและการ ป้องกันมัลแวร์คอมพิวเตอร์ (2) แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ (3) แบบสอบถามความ คิดเห็นของผู้รับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย เรื่อง การป้องกัน และกำจัดมัลแวร์คอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าประสิทธิภาพ E,/E, การทดสอบค่าที ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายที่พัฒนาขึ้นทั้ง 3 หน่วยมีประสิทธิภาพ 80.00/81.33, 79.33/80.00 และ 80.67/81.00 ตามลำดับ เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) ผู้รับการฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่าย มีความก้าวหน้าในการเรียนเพิ่มขึ้นอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ (3) ผู้รับการฝึกอบรมมีความคิดเห็นต่อชุดฝึกอบรมด้วย คอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายว่าอยู่ในระดับเหมาะสมมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.332-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์--การควบคุมการเข้าถึงth_TH
dc.titleชุดฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ผ่านเครือข่ายเรื่องการป้องกันและกำจัดมัลแวร์คอมพิวเตอร์สำหรับครูสายผู้สอนโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตพื้นที่การศึกษาเลย เขต 1th_TH
dc.title.alternativeA computer-based training package via network on the topic of prevention and removal of malicious computer software for teachers in secondary schools under the Office of Loei Educational Service Area 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.332-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop a computer-based training package via network ; (2) to study the learning progress of trainees who used the computer-based training package via network; and (3) to study trainees' opinions toward on the computer-based training package via network. The sample consisted of 30 teacher in secondary schools obtained by Simple Random Sampling. Research instruments consisted of (1) a computer-based training package via network on the topic of Prevention and Removal of Malicious Computer Software for the teacher in secondary schools, developed by the researcher which consisting of three learning units: Unit 1: Basic of Malicious Computer Software Unit 2: Working Attribute and Distribute Malicious Computer Software Unit 3: Checking Purge and Protect Malicious Computer Software (2) an achievement test for pre-testing and post-testing; and (3)a questionnaire on trainee's opinions toward the training package. Statistically for data analyzed were the E1/E2, t-test, arithmetic means (X) and standard deviation (S.D.) Research findings revealed that (1) the developed computer-based training package via network had efficiency indices of 80.00/81.33, 79.33/80.00 and 80.67/81.00 respectively, meeting the set standard of 80/80; (2) trainees achieved significant learning progress as demonstrated by their post-test mean being significantly higher than their pre-test counterpart at the 0.05 level; and (3) trainees had opinions that the developed computer-based training package were highly appropriateen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons