Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำth_TH
dc.contributor.authorสุขเกษม อินทสิทธิ์, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-06T06:56:14Z-
dc.date.available2023-11-06T06:56:14Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10319en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สาเหตุ ความเป็นมา และปัจจัยที่นำไปสู่การจัดการทรัพยากรน้ำภาครัฐที่เป็นปัญหาและเกิดผล กระทบต่อระบบเหมืองฝายของภาคประชาสังคมชุมชนลุ่มน้ำขาน จังหวัดเชียงใหม่ (2) ปัญหาและผลกระทบต่อระบบเหมืองฝายของภาคประชาสังคมชุมชนลุ่มน้ำขาน จังหวัดเชียงใหม่และ(3) ผลกระทบการจัดการทรัพยากรน้ำภาครัฐที่เป็นปัญหาและเกิดผลกระทบต่อระบบเหมืองฝายของภาคประชาสังคมชุมชนลุ่มน้ำขาน จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาขอมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกได้แก่ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรน้ำภาครัฐของชุมชนลุ่มน้ำขาน จำนวน 11 คน และผู้ที่มีผลกระทบต่อระบบ เหมืองฝายของชุมชนลุ่มน้ำขานจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) การที่รัฐเข้ามาจัดการทรัพยากรน้ำบริเวณลุ่มน้ำขาน ทำให้เกิดความขัดแย้งกับชุมชน เพราะนอกจากจะเป็นการทำลายวิถีชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นแล้ว ยังส่งผลให้ขาดประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรน้ำไม่ตรงกับความต้องการของชาวบ้าน นำมาซึ่งความขัดแย้ง(2) การจัดการทรัพยากรน้ำโดยภาครัฐเน้นการจัดการตามกฎระเบียบของทางราชการซึ่งส่งผลให้ความขัดแย้งทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น เพราะนอกจากจะขัดต่อการจัดการน้ำด้วยระบบเหมืองฝายของชุมชนแล้วยังขาดการมีส่วนร่วมของชาวบ้านจนก่อให้เกิดข้อพิพาทตามมาแล้ว (3) ผลกระทบที่เกิดขึ้นคือ การจัดการน้ำภาครัฐขาดประสิทธิภาพ วิถีชีวิตของชุมชน ถูกทำลาย เกิดข้อพิพาทระหว่างหมู่บ้านในการแบ่งปันน้ำ และการรวมตัวของชาวบ้านเป็นกลุ่มประชาสังคมเพื่อต่อสู้กับภาครัฐth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectน้ำ--การจัดการth_TH
dc.subjectทรัพยากรทางน้ำ--การจัดการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleการจัดการทรัพยากรน้ำภาครัฐที่เป็นปัญหาและเกิดผลกระทบต่อระบบเหมืองฝายของภาคประชาสังคม : กรณีศึกษาชุมชนลุ่มน้ำขานจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeProblems with the government's management of water resources that impacts civil society's check dam system : a case study of the Khan River Basin, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: (1) the reasons for, history of and factors that contributed to problems with the government’s management of water resources that impact civil society’s check dam system in the Khan River Basin community, Chiang Mai Province; (2) the substance of those problems; and (3) the impact of those problems. The sample population for study, using the research tool of in-depth interviews, consisted of 11 people involved with the government’s management of water resources in the Khan River Basin community, Chiang Mai Province, and 30 people who were impacted by the government’s management of water resources in the Khan River Basin community, Chiang Mai Province. The results showed that: 1. The government’s intervention to try to manage water resources in the Khan River Basin created conflicts with the community because people felt it destroyed their way of life and their ancestors’ intellectual heritage, and the results of the water management system were not efficient in meeting the local people’s needs. This was the origin of the conflict. 2.The government’s system of water resources management was focused on official rules and regulations, which made the conflict more severe, because the system was not compatible with the traditional check dam system and the local people were not allowed to participate in decision making. 3. The impact was that the government’s water resources management was inefficient, the local people’s way of life was threatened, people in different neighborhoods became involved in disputes over water distribution, and people joined in a civil society movement to oppose the government’s interference.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128858.pdfเอกสารฉบับเต็ม15.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons