Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10343
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุรกฤษณ์ ชายเกตุ-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-09T03:12:59Z-
dc.date.available2023-11-09T03:12:59Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10343-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการใช้สารสนเทศในการบริหารงาน วิชาการของโรงเรียนสังกัดเทศบาลในเขตจังหวัดภาคใต้ (2) เปรียบเทียบระดับการใช้สารสนเทศในการ บริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดเทศบาลในเขตจังหวัดภาคใต้ ซึ่งจำแนกตามขนาดของโรงเรียน (3) เปรียบเทียบระดับการใช้สารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดเทศบาลในเขต จังหวัดภาคใต้ ระหว่างผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ หัวหน้างานวิชาการ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้อำนวยการโรงเรียน 93 คน รองผู้อำนวยการโรงเรียน 93 คน หัวหน้า งานวิชาการ 93 คน ของโรงเรียนสังกัดเทศบาลในเขตจังหวัดภาคใต้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นแบบมาตรประมาณค่า 6 ระดับ โดยมีค่าความเที่ยง .98 สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการของ Least Significant Difference (LSD) ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับการใช้สารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัด เทศบาลในเขตจังหวัดภาคใต้ โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก (2) เมื่อจำแนกตามขนาดของโรงเรียน พบว่า โรงเรียนขนาดเล็กและขนาดกลางกับขนาดใหญ่พิเศษ มีระดับการใช้สารสนเทศในการบริหารงาน วิชาการของโรงเรียนสังกัดเทศบาลในเขตจังหวัดภาคใต้โดยภาพรวม มีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ส่วนโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษกับขนาดใหญ่ ไม่แตกต่างกัน (3) เมื่อ จำแนกตามตำแหน่ง คือ ระหว่างผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียนฝ่ายวิชาการ หัวหน้างาน วิชาการ มีระดับการใช้สารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดเทศบาลในเขตจังหวัด ภาคใต้ โดยภาพรวม ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.82-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงเรียนสังกัดเทศบาล--การบริหาร.--ไทย (ภาคใต้)th_TH
dc.subjectการค้นคืนสารสนเทศ--การศึกษาการใช้th_TH
dc.titleการใช้สารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดเทศบาลในเขตจังหวัดภาคใต้th_TH
dc.title.alternativeInformation uses in academic affaires administration of Municipality School in the Southern Regionth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.82-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) study Information Uses in Academic Affaires Administration of Municipality School in the Southern Region (2) compare Information Uses in Academic Affaires Administration of Municipality School in the Southern Region for the different size of schools (3) compare Information Uses in Academic Affaires Administration of Municipality School in the Southern Region between the administrator, the associate administrator, and the leader of academic affaires The samples consisted of 93 administrators, 93 associate administrators and 93 leader of academic affaires from Municipality School in the Southern Region. The employed data collecting instrument was a six-scale questionnaire, developed by the researcher, with .98 reliability coefficient. The employed statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, one-way analysis of variance and Least Significant Difference (LSD). The research findings were as follows: (1) Information Uses in Academic Affaires Administration of Municipality School in the Southern Region were at a high level (2) Information Uses in Academic Affaires Administration of Municipality School in the Southern Region classified by size of school were the following: the school between small size, middle size, and special big size differed significantly at the .05 level, but the school between small size, middle size, and big size were not significantly different (3) Information Uses in Academic Affaires Administration of Municipality School in the Southern Region classified between the administrator, the associate administrator, and the leader of academic affaires were not significantly differenten_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.62 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons