กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10359
ชื่อเรื่อง: บทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองต่อฝ่ายนิติบัญญัติ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: The role of political parties in legislation
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ฐปนรรต พรหมอินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษา
อนันต์ สุขสันต์, 2478-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการเมืองการปกครอง --การศึกษาเฉพาะกรณี
พรรคการเมือง--ไทย
นิติบัญญัติ--ไทย
วันที่เผยแพร่: 2554
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาในบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองไทยต่อฝ่ายนิติบัญญัติ (2) ศึกษาแนวคิดของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและนักวิชาการที่เกี่ยวข้องในการนิติบัญญัติ (3) เสนอแนะทางเลือกในการพัฒนาบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองต่อฝ่ายนิติบัญญัติ ผลการศึกษาพบว่า (1) พรรคการเมืองมีบทบาทต่อฝ่ายนิติบัญญัติตั้งแต่การชี้นาและกาหนดให้เกิดการดาเนินการยกร่างกฎหมายไปจนถึงการบรรลุผลของกระบวนการนิติบัญญัติ โดยเบ็ดเสร็จ (2)แนวคิดของกลุ่มตัวอย่างเห็นฟ้องกันว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่มีอิสระในการการทาหน้าที่นิติบัญญัติ หัวหน้าพรรคการเมืองเป็นบุคคลชี้นาบทบาทของพรรคการเมือง อุปสรรคที่สาคัญคือการใช้เงินเป็นปัจจัยในการรักษาเสถียรภาพของพรรคการเมืองและ (3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาบทบาทหน้าที่ของพรรคการเมืองต่อฝ่ายนิติบัญญัติ ได้แก่การพัฒนาการเมืองทุกด้านไปพร้อมกันคือ อุดมการณ์ทางการเมือง สถาบันทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง โครงสร้างทางการเมือง และระบบบริหารงานภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ สร้างแนวทางให้ฝ่ายนิติบัญญัติมีอิสระจากพรรคการเมือง และเสนอให้ฝ่ายตุลาการมีส่วนร่วมในกระบวนการนิติบัญญัติด้วย
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10359
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
130339.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.74 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons