Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10377
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธโสธร ตู้ทองคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชัชชัย คงทวี, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-09T07:16:57Z-
dc.date.available2023-11-09T07:16:57Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10377-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) บริบททางการเมืองและปัจจัยที่มีผลต่อการรณรงค์หา เสียงเลือกตั้งของผู้สมัครรับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา(2)เพื่อศึกษาและวิเคราะห์กลยุทธ์ทาง การตลาดที่ผู้สมัครรับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลานำมาใช้ในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง ผลการวิจัยพบว่า (1) บริบททางการเมืองที่สำคัญและส่งผลต่อการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งนายก องค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ในการเลือกตั้ง วันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2556ประกอบด้วยปัจจัยภายนอก ด้าน การเมือง ผลการเลือกตั้ง นายนิพนธ์ บุญญามณี ผู้ได้รับเลือกตั้งลงสมัครในนามพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็นพรรค การเมืองที่มีชื่อเสียงและเป็นที่ศรัทธาของคนในพื้นที่เลือกตั้ง แม้นายอุทิศ ชูช่วย จะเป็นนักการเมืองท้องถิ่นที่ สังกัดพรรคประชาธิปัตย์เช่นกันแต่การเลือกตั้งครั้งนี้พรรคให้ความสำคัญและสนับสนุนนายนิพนธ์ บุญญามณี ชัดเจนกว่าโดยผู้นำพรรคลงพื้นที่เลือกตั้งเพื่อช่วยผู้สมัครด้วยตัวเองส่วนปัจจัยภายใน ด้านตัวผู้สมัครรับเลือกตั้ง นายนิพนธ์ บุญญามณี เป็นนักการเมืองระดับประเทศและมีประสบการณ์จากการเมืองระดับท้องถิ่น เช่นเดียวกับนาย อุทิศ ชูช่วย ที่ประสบความสำเร็จในชีวิตการเมืองระดับท้องถิ่นเช่นกัน ต่างกันที่นายอุทิศ ชูช่วย มีปัญหาคดีความ ก่อนการเลือกตั้งทำให้ส่งผลต่อการตัดสินใจของผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งโดยเฉพาะคะแนนเสียงที่อยู่กึ่งกลาง เมื่อมี ผู้สมัครที่ประวัติด่างพร้อยจึงหันไปลงคะแนนให้แก่ผู้สมัครอีกฝ่ายหนึ่ง (2) กลยุทธ์ทางการตลาดที่สำคัญและ ส่งผลให้ผู้สมัครได้รับการเลือกตั้งได้แก่ กลยุทธ์ด้านภาพลักษณ์ส่วนบุคคลของผู้สมัครรับเลือกตั้งนายนิพนธ์ บุญญามณีและนายอุทิศ ชูช่วย ใช้กลยุทธ์ในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งที่มีความโดดเด่นคล้ายคลึงกันแต่การที่นาย อุทิศ ชูช่วยถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับคดีจ้างวานฆานายพีระตันติเศรณือดีตนายกเทศมนตรีนครสงขลาซึ่ง ส่งผลลบต่อภาพลักษณ์เป็นอย่างมากดังนั้นปัจจัยภายนอกด้านการเมืองและปัจจัยภายในด้านตัวผู้สมัครรับ เลือกตั้งตลอดจนกลยุทธ์ด้านภาพลักษณ์ส่วนบุคคลของผู้สมัครจึงเป็นส่วนสำคัญที่ส่งผลให้นายนิพนธ์บุญญามณี ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาในการเลือกตั้งวันที่งสิงหาคมพ.ศ.2556th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนจังหวัด--การเลือกตั้ง--ไทย--สงขลาth_TH
dc.subjectการเลือกตั้งth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่th_TH
dc.titleกลยุทธ์การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา กรณีศึกษา การเลือกตั้งวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2556 ระหว่าง นายนิพนธ์ บุญญามณี และนายอุทิศ ชูช่วยth_TH
dc.title.alternativeThe Campaign strategies of Mr. Niphon Bunyamni and Mr. Uthit Chuchuai in the Election for Chairman of the Songkhla Provincial Administrative Organization on August 4, 2013en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research sought to study (1) the political contextand factors that affected the campaigns of candidates in the electionfor chairman of the Provincial Administrative Organization of Songkhla Province; and (2) to study andanalyze themarketing strategies used by the candidates. This was a qualitative research. The sample population of 38, chosen through purposive sampling, consisted of (1) 2 candidates for the position of chairman of the Songkhla Provincial Administrative Organization in the August 4, 2013 election; (2) 4 national and local level politicians involved in the campaign; (3) 6 government officials; and 4) 26 academics, journalists, religious leaders and general citizens in the voting district. Data were collected using an interview form and analyzed through descriptive analysis. The study found that (1) The externalfactorsthat influenced the context of the election were first, political factors-- Mr. Niphon Bunyamniran under the banner of the Democratic Party, which has enjoyed popularity and the faith of most of the peoplein Songkhla province. His opponent, Mr. Uthit Chuchuai, also ran for the Democratic Party, but the national-level party leaders clearly supported Mr. NiphonBunyamni for this election and made a personal visit to the area to endorse him. The internal factors were the backgrounds and qualificationsof thecandidates. Mr. Niphon Bunyamni is a national level politician with local level experience. Mr. UthitChuchuai has also had a successful career in local politics, but before the election he was implicated in a legal case that may have swayed undecided voters to vote for the opponent with the untarnished history. (2) The major marketing strategy that both candidatesusedinthe campaign was the personal image strategy. Their images were both similarly striking at first, but Mr. Uthit Chuchuai had been accused of conspiring in the assassination of a former mayor of Songkhla, which had a very negative impact on his image. In short, the external and internal political factors and the personal image marketing strategy resulted in Mr. Niphon Bunyamniwinning theelection for Chairman of Songkhla Provincial Administrative Organization on August 4,2556.en_US
Appears in Collections:Pol-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143708.pdfเอกสารฉบับเต็ม30.15 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons