Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10393
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประดินันท์ อุปรมัย | th_TH |
dc.contributor.author | อัญชลี วัฒนศิริ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-10T03:36:43Z | - |
dc.date.available | 2023-11-10T03:36:43Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10393 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงที่มีประสิทธิภาพเพื่อเสริมสร้างทักษะการปรับตัวในการดำรงชีวิตของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (2) ทดลองใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดย เปรียบเทียบคะแนนทักษะการปรับตัวในการดำรงชีวิตของนักเรียน ก่อนและหลังการใช้ ชุดกิจกรรม การศึกษา 2551 โรงเรียนพัทลุง จังหวัดพัทลุง จำนวน 30 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง จากนักเรียนที่มีคะแนนทักษะการปรับตัวในการดำรงชีวิตน้อย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างทักษะการปรับตัวในการ ดำรงชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (2) แบบประเมินตนเองเกี่ยวกับทักษะการปรับตัวใน การดำรงชีวิตที่มีค่าความเที่ยง โดยวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค เท่ากับ 96 สถิติที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ การทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ ผลการวิจัยพบว่า (1) ชุดกิจกรรมแนะแนวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ เสริมสร้างทักษะการปรับตัวในการดำรงชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีค่าความ สอดคล้องที่ .95 (2) หลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนักเรียนมี คะแนนทักษะการปรับตัวในการดำรงชีวิตสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.270 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--การดำเนินชีวิต | th_TH |
dc.subject | เศรษฐกิจพอเพียง | th_TH |
dc.title | การพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเสริมสร้างทักษะการปรับตัวในการดำรงชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพัทลุง จังหวัดพัทลุง | th_TH |
dc.title.alternative | The development of a guidance activity package based on the sufficiency economy philosophy to enhance life adjustment skills of Mathayom Suksa IV of Phatthalung School in Phatthalung Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2008.270 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to: (1) develop an efficient guidance activity package based on the sufficiency economy philosophy to enhance life adjustment skills of Mathayom Suksa IV students; and (2) experiment with the developed guidance activity package and study its effects by comparing life adjustment scores of the experimental group students before and after using the package. studying in the first semester of the 2008 academic year at Phatthalung School in Phatthalung Province. They were purposively selected based on their low life adjustment scores. The employed research instruments were (1) a guidance activity package based on the sufficiency economy philosophy to enhance life adjustment skills of Mathayom Suksa IV students; and (2) a self-evaluation form on life adjustment skills, with Cronbach alpha coefficient of .96. Statistical procedure for data analysis was the dependent t-test. Research findings indicated that (1) the developed guidance activity package based on the sufficiency economy philosophy to enhance life adjustment skills for Mathayom Suksa IV students had IOC of .95; and (2) after using the guidance activity package based on the sufficiency economy philosophy, the students' life adjustment scores were increased significantly at the .01 level. The research sample consisted of 30 Mathayom Suksa IV students. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ลัดดาวรรณ ณ ระนอง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License