Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10397
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจียรนัย ทรงชัยกุล | th_TH |
dc.contributor.author | สุพิน อริยะเครือ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-10T08:23:44Z | - |
dc.date.available | 2023-11-10T08:23:44Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10397 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมขั้นสูง ของนักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมขั้นสูงกับ ไม่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว เพื่อพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมขั้นสูง และ (2) เปรียบเทียบ การได้รับประโยชน์จากการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวของนักเรียนวัยรุ่นที่มีความพร้อม ทางจิตลักษณะแตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนวัยรุ่นชายและหญิง อายุระหว่าง 13-15 ปี จากโรงเรียน บ้านปงยางคก จังหวัดลำปาง ปีการศึกษา 2550 จำนวน 60 คน เครื่องมือที่ใช้เป็น (1) แบบวัดจิตลักษณะ จำนวน 4 แบบวัด ได้แก่ แบบวัดความเชื่ออำนาจในตน แบบวัดการมุ่งอนาคต - ควบคุมตน แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และแบบวัดเหตุผลเชิงจริยธรรม มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .66, .78, .82 และ .77 ตามลำดับ และ (2) ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมขั้นสูง สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนวัยรุ่นที่ได้รับการฝึกเหตุผลเชิงจริยธรรมขั้นสูงด้วยชุด กิจกรรมแนะแนว มีเหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่านักเรียนวัยรุ่นที่ไม่ได้รับการฝึกด้วยชุคกิจกรรม แนะแนวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนที่มีความพร้อมทางจิตสูง และความพร้อม ทางจิตต่ำ เมื่อได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมขั้นสูงได้รับ ประโยชน์ไม่ต่างกัน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.389 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การแนะแนว--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ--การประเมิน | th_TH |
dc.subject | จริยศึกษา--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.title | ผลการฝึกเพื่อพัฒนาเหตุผลเชิงจริยธรรมขั้นสูงของนักเรียนวัยรุ่น ที่มีจิตลักษณะแตกต่างกันด้วยชุดกิจกรรมแนะแนว | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of training by a guidance activity package for development advanced moral reasoning of adolescent students with different psychological characteristics | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.389 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this study were to: (1) compare advanced moral reasoning of adolescent students who were trained with a guidance activity package with that of adolescent students who were not trained with the package; and (2) compare the benefits from the training with the guidance activity package of adolescent students with different readiness of psychological characteristics. The research sample consisted of 60 purposively selected adolescent students, aged 13 - 15 years, who were studying at Ban Pongyangkok School in Lampang province in the 2007 academic year. The employed research instruments were (1) four psychological traits measuring instruments, namely, a belief in self- power assessment form, a future-oriented self control assessment form, an achievement motive assessment form, and a moral reasoning assessment form, with reliability coefficients of .66, .78, .82, and .77 respectively; and (2) a guidance activity package for developing advanced moral reasoning. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test and analysis of variance. Research findings revealed that (1) students who received training by the guidance activity package for developing advanced moral reasoning had significantly higher scores on advanced moral reasoning, at the .05 level, than the counterpart scores of students who did not receive such a training; and (2) students with high level of psychological characteristics readiness and those with low level of psychological characteristics readiness did not significantly differ in the benefits they received from the training. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | โกศล มีคุณ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License