กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10410
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorสมปฤณ นิยมไทย, อาจารย์ที่ปรึกษth_TH
dc.contributor.authorมีนา จินะโกษฐ์, 2524--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-13T04:15:45Z-
dc.date.available2023-11-13T04:15:45Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10410-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัญหาและอุปสรรคของการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิ บาลด้านการมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา (2) ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการบริหารจัดการที่ดี ตามหลักธรรมาภิบาลด้านการมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนาและ (3) เสนอแนะแนวทางการส่งเสริม การบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาลด้านการมีส่วนร่วมขององค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา ผลการศึกษาพบว่า (1) ปัญหาและอุปสรรคของการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการมีส่วนร่วมของ อบต.นิคมพัฒนา เกิดจากประชาชนรู้สึกว่ามีความรู้ความสามารถน้อย ไม่สำคัญต่อ กระบวนการมีส่วนร่วม ขาดความรู้ความเข้าใจที่แท้จริงในสิทธิ บทบาท หน้าที่และจิตสำนึกของตน ไม่เข้าใจ โครงสร้างอำนาจหน้าที่และบทบาทของ อบต.นิคมพัฒนา ความไม่พร้อมเรื่องเวลาในการเข้าไปมีส่วนร่วม และ ห่างเหินไม่ผูกพันกับชุมชน/อบต.นิคมพัฒนา (2) ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการบริหารจัดการที่ดีตามหลัก ธรรมาภิบาลด้านการมีส่วนร่วมได้แก่ (2.1) ปัจจัยเกี่ยวกับบุคคล ได้แก่ รู้จักบาทหน้าที่ กล้าแสดงความคิดเห็น เต็มใจที่จะมีส่วนร่วม คำนึงถึงผลประโยชน์หรือผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อตนเองและชุมชน มีความเชื่อมั่น ผู้บริหารและพนักงาน อบต.นิคมพัฒนา (2.2) ปัจจัยเกี่ยวกับชุมชนได้แก่ ชุมชนให้การสนับสนุนและเปิดโอกาส ให้เข้าไปมีส่วนร่วม ความศรัทธาของชุมชนที่มีต่อ อบต.นิคมพัฒนา และความสัมพันธ์ที่ดีกับ อบต.นิคมพัฒนา (2.3) ปัจจัยเกี่ยวกับ อบต. ได้แก่ ผู้บริหารและพนักงานมีความเป็นผู้นำ ผู้บริหารเป็นคนท้องถิ่น บริหารงาน เป็นไปตามระเบียบและกฎหมาย และมีความกระตือรือร้นในการแก้ไขปัญหา (3) แนวทางการส่งเสริมหลัก ธรรมาภิบาลด้านการมีส่วนร่วมของ อบต.นิคมพัฒนาได้แก่ ปลูกฝังค่านิยมให้ประชาชนผูกพันและเกิดความรู้สึกว่า อบต.นิคมพัฒนา เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต สร้างความรู้ความเข้าใจเรื่องการมีส่วนร่วมแก่ผู้นำชุมชน ประชาชน และ พนักงาน สนับสนุนให้ใช้เวทีชาวบ้าน ส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นธำรงรักษาไว้ซึ่งอัตลักษณ์ จารีตและประเพณี อันดีงามของท้องถิ่น สร้างจิตสำนึกให้ผู้บริหารและพนักงานยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาลด้านการมีส่วนร่วม คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ จิตสำนึกของพลเมือง และกฎระเบียบอย่างเคร่งครัดในการปฏิบัติงาน และส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่ม/ชมรมขึ้นในชุมชนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการเมืองการปกครองท้องถิ่น --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectองค์การบริหารส่วนตำบล--การบริหาร--การมีส่วนร่วมของประชาชนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การเมืองการปกครองท้องถิ่นth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาธิบาลด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลนิคมพัฒนา อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยองth_TH
dc.title.alternativeFactors of good governance principle of public participation Nikhom Phatthana Tambol Administrative Organization in Nikhom Phatthana District, Rayong Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชารัฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study (1) problems of good governance principle of public participation of Nikhom Phatthana Tambol Administrative Organization (TAO)’s application; (2) factors of success that lead to public participation in local administration following the principles of good governance; and (3) recommendations for Nikhom Phatthana TAO to promote public participation in local administration. This was a qualitative research based on in-depth interviews and documentary research. The data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that (1) The problems that affected public participation of Nikhom Phatthana TAO administration were a feeling of citizens that they had little knowledge and capabilities and were not an important part of the participatory process; a lack of understanding about citizens’ rights, roles, responsibilities and conscience; a lack of understanding about the structure, authority and roles of the TAO; lack of ability to take the time to participate; and feelings of distance or lack of attachment to the TAO and the community. (2) The factors of success for public participation were 2.1) personal factors: awareness of roles and responsibilities, outspokenness, willingness to participate, consciousness of the impact on oneself and one’s community, and confidence in the TAO personnel and administrators; 2.2) community factors: support from the community and opportunities for participation; the faith the community has in Nikhom Phatthana TAO; and the community’s relationship with the TAO; 2.3) TAO-related factors: leadership of TAO administrators and personnel who are local people and adherence to the rules and laws; and enthusiasm for solving problems. (3) Recommendations for promoting public participation are to instill values of attachment to the TAO and to make people feel that the TAO is a part of their lives; to educate community leaders, TAO personnel and the general public about the principles of public participation; to support the use of public forums; to promote preservation of the local identity, traditions and customs; to raise consciousness among TAO personnel and administrators about the good governance principles of public participation, morality, ethics, responsibility, citizenship, and strict adherence to work rules; and to promote the founding and operation of community groups and clubsen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Pol-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
143421.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.1 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons