Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10452
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศศิธร กาญจนสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณ์ดี แสงประทีปทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสสินา ปิ๊บกลาง, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-11-15T03:44:38Z-
dc.date.available2023-11-15T03:44:38Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10452-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา และ 3) สร้างสมการทำนายปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ ปีการศึกษา 2562 จำนวน 394 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบสองขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูล แบบสอบถามแบบมาตร ประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง .67-1.00 ค่าความเที่ยง .946 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบนำตัวแปรทั้งหมดเข้าสมการ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ นักเรียนมีผลการเรียนเฉลี่ย ในรายวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เท่ากับ 3.39 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุด คือ ด้านสมรรถนะของผู้เรียน รองลงมา คือ การส่งเสริมด้านสะเต็มศึกษา การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ การใช้สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามลำดับ และ 3) ปัจจัยด้านสมรรถณะของผู้เรียน (x5) การส่งเสริมด้านสะเต็มศึกษา (x1) การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ (x3) การใช้สื่อ เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ (x4) และ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (x2) ร่วมกันพยากรณ์ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (y) ได้ร้อยละ 87.20 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถสร้างสมการพยากรณ์ โดยเขียนในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th_TH
dc.subjectกิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์th_TH
dc.title.alternativeFactors affecting the outcome of STEM learning management in schools under the Secondary Educational Service Area Office Surinen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research were to study: 1) Study the results of learning management according to STEM Education in schools under The Secondary Educational Service Area Office Surin. 2) To study the factors affecting outcome of learning management according to STEM Education 3) Make some equations of the factors affecting outcome of learning management according to STEM Education. The sample of the study drawn from grade 9 student in school under The Secondary Educational Service Area Office Surin of 2019 academic, 394 persons selected by using two-stage sampling. The research instrument use for collecting data was data record forms, a five-point scale questionnaire. The Index of item Objective Congruence was from .67 to 1.00 and the reliability was .946 . The data analyzed using mean, standard deviation, and multiple regression analysis- the enter method. The result of the research showed that 1) Outcomes of STEM learning management in school under The Secondary Educational Service Area Office Surin the average grade of science and mathematics courses is 3.39 2) The Factors Affecting the Outcome of STEM Learning Management in schools under The Secondary Educational Service Area Office Surin was as the high lever, the student's competency factor had the greatest impact, followed by the promotion of STEM education, measuring and evaluating learning outcomes, using media, technology and learning resources and learning activities. 3) Aspect factors the student's competency (x5), the promotion of STEM Education (x1), measuring and evaluating learning outcomes (x3), using media, technology and learning resources (x4) and learning activities (x2), these factors could be predicted the Outcome of STEM Learning Management by 87.20 %, with significantly at the 0.01 level. The forecasting equation is written in from of raw score and standard score as; The forecasting equation of raw score ŷ = 0.504 +0.435 x5 + 0.073 x1 + 0.073 x3 + 0.063x4 + 0.051 x2 The forecasting equation of standard score Z =0.630 x5 + 0.102 x1 + 0./100 x3 + 0.101 x4 + 0.089 x2en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม17.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons