Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10587
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพัชรี ผาสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกวีวัฒน์ เศรษฐวิวัฒน์, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-11-23T02:57:58Z-
dc.date.available2023-11-23T02:57:58Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10587-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้บริการขนส่งพัสดุของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดนครสวรรค์ 2) ความเต็มใจจ่ายสำหรับการใช้บริการขนส่งพัสดุของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดนครสวรรค์ ประชากรในการศึกษา คือ ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดนครสวรรค์ที่เคยใช้บริการขนส่งพัสดุ ขนาดของกลุ่มตัวอย่างคำนวณโดยใช้สูตรของคอแครน เนื่องจากไม่ทราบจำนวนประชากร จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความเต็มใจจ่ายด้วยวิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบร่วม ผลการศึกษา พบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 27 ปี ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว สถานภาพโสด ระยะเวลาประกอบกิจการน้อยกว่า 1 ปี รายได้จากการประกอบการน้อยกว่า 10,000 บาทต่อเดือน ประกอบกิจการที่บ้านหรือที่พัก และประกอบกิจการด้วยตนเองไม่มีพนักงาน มีการจัดส่งพัสดุโดยใช้บริการ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด มากที่สุด รองลงมาได้แก่ เคอรี่ เอ็กเพรส สินค้าที่จัดส่งเป็นประเภท เสื้อผ้า หมวก รองเท้า ใช้การจัดส่งพัสดุแบบธรรมดาร้อยละ 36.2 จัดส่งพัสดุแบบด่วนร้อยละ 43.3 จัดส่งพัสดุแบบด่วนที่เรียกเก็บเงินปลายทางร้อยละ 20.5 และ 2) ปัจจัยสำคัญที่ผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใช้ตัดสินใจในการใช้บริการขนส่งพัสดุมากที่สุด คือ ราคาค่าจัดส่ง รองลงมาคือ การบริการของพนักงาน การบริการเก็บเงินปลายทาง และรับพัสดุถึงบ้าน ตามลำดับ รูปแบบการให้บริการการจัดส่งพัสดุที่มีค่าความเต็มใจจ่ายเพิ่มขึ้นเฉลี่ยสูงสุด 17.130 บาท คือ มีราคาจัดส่ง 35 บาท/ชิ้น (ไม่เกิน 1 กิโลกรัม) ความเร็วในการจัดส่งปกติ ไม่มีการบริการเก็บเงินปลายทางและรับพัสดุถึงบ้าน การบริการของพนักงานระดับดี และมีจำนวนจุดให้บริการรับพัสดุจำนวนมากth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความเต็มใจจ่ายth_TH
dc.subjectบริการจัดส่งสินค้าth_TH
dc.subjectผู้บริโภค--ทัศนคติth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์th_TH
dc.titleความเต็มใจจ่ายสำหรับการใช้บริการขนส่งพัสดุของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในจังหวัดนครสวรรค์th_TH
dc.title.alternativeWillingness to pay for parcel delivery service of e-commerce entrepreneur in Nakhon Sawan Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study, 1) The behavior of using parcel delivery services of e-commerce entrepreneur in Nakhon Sawan province and 2) The willingness to pay for parcel delivery services of e-commerce entrepreneur in nakhon sawan province. The population in the study was e-commerce entrepreneur in Nakhon Sawan province who had used parcel delivery services. The Cochran’s formular was employed because the population is unknown. Data were collected from 400 participants. The research instrument was a questionnaire and the data was analyzed by using descriptive statistics such as percentage, mean, and standard deviation. The willingness to pay was analyzed by conjoint analysis. The result indicated that 1) the majority of the sample in this study were female with anaverage age of 27 years old, earned high school/vocational degree, owning private business, single status, have less than 1 year experience in business, income less than 10,000 baht per month, operated at home or accommodation and self-employed. The parcels were delivered using the service of Thailand Post the most, followed by Kerry Express. The selling goods were clothing, hats and shoes. 36.2 percent used normal delivery service, 43.3% express delivery service and 20.5% cash on delivery express service. 2) The most important factors that e-commerce operators considered on the use of parcel delivery services is the shipping fee, followed by the quality of service from the staff, cash on delivery service and pickup-at-home service respectively. The form of delivery service with the highest average willingness to pay of 17.130 baht are delivery fee of 35 baht/piece (not more than 1 kg), no cash on delivery and pickup-at-home service, good quality of service from staff, and large number of parcel pickup pointsen_US
Appears in Collections:Econ-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.6 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons