Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10646
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณินี กิจพอค้า, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพงศ์พันธุ์ พบสุวรรณ์, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-12-04T03:27:38Z-
dc.date.available2023-12-04T03:27:38Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10646-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาถึงความเป็นมา แนวคิดทฤษฎีในการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ (2) ศึกษากฎหมายที่เกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาของประเทศไทยและของต่างประเทศ (3) วิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญา และ (4) นำผลจากการศึกษาดังกล่าวไปปรับใช้ให้เกิดความเหมาะสมในการดำเนินคดีอาญากับเจ้าหน้าที่ของรัฐและผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการวิจัยเอกสารโดยศึกษาค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ได้แก่ กฎหมายอนุสัญญาและระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องตลอดจนหนังสือความเห็นทางกฎหมายวิทยานิพนธ์สารนิพนธ์บทความต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ ผลการศึกษาพบว่า (1) การดำเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตมีความซ้ำซ้อน เนื่องจากเมื่ออัยการสูงสุดเห็นว่าสำนวนไต่สวนยังไม่สมบูรณ์คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและอัยการสูงสุดต้องตั้งคณะกรรมการร่วมกันเพื่อดำเนินการไต่สวนในข้อไม่สมบูรณ์ดังกล่าวอีกครั้ง (2) การดำเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในขั้นตอนการฟ้องคดีที่ไม่สอดคล้องกับหลักการของระบบไต่สวน เนื่องจากมีลักษณะแยกอำนาจหน้าที่การสอบสวนและการฟ้องคดีออกจากกัน (3) การฟ้องคดีอาญาตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเกิดปัญหาในการถ่วงดุลอำนาจ เนื่องจากให้อำนาจคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นผู้ชี้ขาดว่าจะฟ้องคดีหรือไม่ในกรณีที่อัยการสูงสุดมีความเห็นไม่ฟ้องคดี และ (4) ผู้วิจัยจึงขอเสนอแนะแนวทางแก้ไข โดยกำหนดให้มีตัวแทนจากอัยการสูงสุดเข้าร่วมในการไต่สวนด้วย และควรให้ศาลอาญาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นผู้ชี้ขาดการฟ้องคดีดังกล่าวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth_TH
dc.subjectการทุจริตและประพฤติมิชอบทางการเมืองth_TH
dc.subjectนักการเมือง--คดีอาญาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตth_TH
dc.title.alternativeCriminal proceedings with the persons holding political position and the public officers in accordance with anti-corruption lawen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this independent study is to (1) study backgrounds, concepts and theories of the criminal proceedings with the persons holding political position and the public officers, (2) study the laws relating to the criminal proceedings of Thailand and foreign countries, (3) analyze the problems on the criminal proceedings-related laws, and ( 4) apply such studying results to be suitable for the criminal proceedings with the public officers and the Persons Holding Political Position. This independent study is a qualitative research using Documentary Research Method through study and search from sources of information, such as the related laws, conventions, and rules, as well as books, legal comments, dissertations, thesis, and articles relating to the criminal proceedings with the persons holding political position and the public officers. The finding of the studying result indicated: (1) criminal judicial administration in accordance with the Anti-Corruption Law a redundancy since when the attorney-general deemed that the inquiry files have not yet been complete, the Anti-Corruption Commission and the attorney-general must mutually appoint a committee to re-inquire in the said incomplete point, ( 2) an inconsistency of the criminal judicial administration in accordance with the Anti-Corruption Law in the prosecution procedure, with the principle of inquisitorial system due to a nature of delegation of power in investigation from prosecution, ( 3) criminal prosecution an occurrence of problem on balance of power in accordance with the Anti-Corruption Law since the Anti-Corruption Commission has been empowered to be an umpire whether a prosecution will be performed in case where the attorney-general has remarked not to prosecute, and (4) therefore, the researcher a corrective guideline has been suggested by designating a representative of the attorney-general shall participate in inquisition, and the Criminal Court in Criminal Division for Persons Holding Political Position to be an umpire of such prosecutionen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
161986.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.08 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons