Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10731
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เก็จกนก เอื้อวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | ปาจรีย์ มาตรวิจิตร, 2533- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-07T07:30:53Z | - |
dc.date.available | 2023-12-07T07:30:53Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10731 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 2) เปรียบเทียบการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงานของครู และ 3 ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 1 ประจำปีการศึกษา 2564 จำนวน 291 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และศึกษานิเทศก์ รวม 5 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองของครู มีค่าความเที่ยงเท่า กับ 89 และแนวคำถามเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครู ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าทีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและการวิเคราะห์เนื้อหาผลการวิจัยปรากฎว่า 1) การพัฒนาตนเองของครูทั้งขั้นตอนและวิธีการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การพัฒนาตนเองตามขั้นตอนการพัฒนาและวิธีการพัฒนา จำแนกตามวุฒิการศึกษาและประสบการณ์การทำงานของครูไม่แตกต่างกัน และ 3) แนวทางการส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษา พบว่าสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาควร (1) สำรวจความจำเป็นในการพัฒนาตนเอง และความต้องการพัฒนาตนเองของครู เน้นให้ครูจัดทำแผนการพัฒนาตนเอง (2) สนับสนุนงบประมาณและอำนวยความสะดวกในการพัฒนาตนเองของครู (3) มีการนิเทศติดตาม และประเมินผลการพัฒนาตนเองของครูอย่างเข้มแข็ง (4) สร้างสื่อนวัตกรรมใหม่ ๆ สนับสนุนให้ครูเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและผลงานวิจัย และ (5) ยกย่องและให้รางวัลเพื่อเสริมสร้างขวัญกำลังใจในการพัฒนาตนเองของครู | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การพัฒนาตนเอง | th_TH |
dc.subject | ครู--การพัฒนาตนเอง | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษา | th_TH |
dc.title | การพัฒนาตนเองของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Self-development of teachers in schools under Suphan Buri Primary Educational Service Area Office 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the self-development of teachers in schools under Suphan Buri Primary Educational Service Area Office 1; (2) to compare the levels of self-development of teachers in schools under Suphan Buri Primary Educational Service Area Office 1 as classified by educational qualification and work experience; and (3) to study guidelines for promotion of self-development of teachers in schools under Suphan Buri Primary Educational Service Area Office 1. The research sample consisted of 291 teachers in schools under Suphan Buri Primary Educational Service Area Office 1 during the B.E. 2564 academic year; while the key research informants were 5 school administrators, teachers and educational supervisors. The research instruments were a questionnaire on self-development of teacher, with reliability coefficient of .89, and a list of questions concerning guidelines for promotion of self-development of teacher. Research data were analyzed with the use of frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance, and content analysis. The research findings were as follows: (1) both the overall and by-aspect steps and methods of self-development of teachers in schools under Suphan Buri Primary Educational Service Area Office 1 were rated at the high level; (2) teachers with different educational qualifications and different work experiences did not significantly differ in their levels of steps and methods of self-development; and (3) regarding the guidelines for promotion of self-development of teachers in the schools, it was found that the Educational Service Area Office and the schools should (1) conduct the assessment study of self-development and the needs for self-development of the teachers with the emphasis on having them create the self-development plan; (2) support the budget for self-development and facilitate the self-development of teachers; (3) have the strong program for supervision, monitoring and follow-up of teachers’ self-development; (4) create the media and innovations to support the teachers to disseminate their academic and research work outcomes; and (5) praise and provide rewards to enhance the teachers’ morale and will power for self-development. | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 17.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License