Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัฒนา มัคคสมัน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพัชรี ผลโยธิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชรินทร์ พรหมเมศ, 2516--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T03:53:56Z-
dc.date.available2023-12-15T03:53:56Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10869-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความรับผิดชอบของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการสอนแบบเดินเรื่อง และ (2) เปรียบเทียบความรับผิดชอบของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการสอนแบบเดินเรื่อง กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กปฐมวัยอายุ 5 - 6 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนประตูชัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 26 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ คู่มือและแผนการจัดกิจกรรมการสอนแบบเดินเรื่องและแบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ก่อนการจัดกิจกรรมการสอนแบบเดินเรื่อง เด็กปฐมวัยมีความรับผิดชอบอยู่ในระดับต่ำ ระหว่างการจัดกิจกรรมการสอนแบบเดินเรื่อง เด็กปฐมวัยมีความรับผิดชอบสูงขึ้นตามลำดับ โดยสัปดาห์ที่ 1 มีความรับผิดชอบอยู่ในระดับต่ำ สัปดาห์ที่ 2 ถึงสัปดาห์ที่ 5 มีความรับผิดชอบอยู่ในระดับปานกลาง และสัปดาห์ที่ 6 ถึงสัปดาห์ที่ 8 มีความรับผิดชอบอยู่ในระดับสูง และ (2) หลังการจัดกิจกรรมการสอนแบบเดินเรื่อง เด็กปฐมวัยมีความรับผิดชอบสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสอน--วิธีวิทยาth_TH
dc.subjectการศึกษาปฐมวัย--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการสอนแบบเดินเรื่องที่มีต่อความรับผิดชอบของเด็กปฐมวัย โรงเรียนประตูชัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeThe effects of storyline method on responsibility of preschool children at Pratoochai School in Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to study the responsibility of preschool children who undertook the storyline method activities; and (2) to compare the responsibilities of preschool children before and after undertaking the storyline method activities. The sample obtained by cluster random sampling comprised 26 preschool children, 5 - 6 years old, studying in the third year kindergarten level during the first semester of the 2019 academic year at Pratoochai School in Phra Nakhon Si Ayutthaya province. The instruments used were a teacher’s handbook and experience plans for the storyline method activities, and a responsibility behavior of preschool children observation form. The statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) before undertaking the storyline method activities, preschool children had low level of responsibility; during undertaking the storyline activities, their responsibility levels were subsequently higher as follows: in the first week, their responsibility was at the low level; in the second week to the fifth week, their responsibility was at the moderate level; and in the sixth week to the eighth week, their responsibility was at the high level; and (2) the responsibility level of preschool children after undertaking the storyline method was significant higher than its counterpart level before undertaking the activities at the .05 levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม24.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons