Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกุลธิดา บรรจงศิริth_TH
dc.contributor.authorสุนิสา รวมใหม่, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T04:20:14Z-
dc.date.available2023-12-15T04:20:14Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10873-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการรวมระบบบริหารงานคุณภาพ (ISO 9001:2015) ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (ISO 45001:2018) และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 14001:2015) (2) ศึกษาการนำระบบการจัดการแบบบูรณาการของบริษัทแห่งหนึ่งมาประยุกต์ใช้ และ (3) วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคในการนำระบบการจัดการแบบบูรณาการของบริษัทแห่งหนึ่งมาประยุกต์ใช้ การวิจัยนี้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสาร ข้อกำหนดระบบบริหารงานคุณภาพ ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และรวบรวมปัญหาจากเอกสารผลการตรวจประเมินภายใน และผลการตรวจประเมินภายนอกของบริษัทแห่งหนึ่ง พ.ศ. 2562 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาและสรุปเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า (1) ทั้ง 3 ระบบนี้ใช้โครงสร้างเดียวกัน คือ โครงสร้างระดับสูงใช้แนวคิด PDCA และแนวคิดบนพื้นฐานความเสี่ยงมาปรับใช้กับทั้ง 3 ระบบ และพบว่าสามารถบูรณาการข้อกำหนดของระบบเข้าด้วยกันได้ คิดเป็นร้อยละ 78 ลดชั่วโมงการตรวจประเมินภายในลงได้ร้อยละ 66.7 ลดจำนวนเอกสารสารสนเทศลงได้ร้อยละ 41.2 และลดจำนวนวันที่ต้องอบรมเกี่ยวกับระบบการจัดการลงได้ร้อยละ 55 (2) พบประเด็นความไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด 3 ลำดับแรก คือ อันดับที่ 1 คือ ข้อกำหนด 8.1 การวางแผน และการควบคุมการปฏิบัติงาน อันดับที่ 2 คือ ข้อกำหนด 6.1 การดำเนินการต่อความเสี่ยงและโอกาส ข้อกำหนด 7.5 เอกสารสารสนเทศ และอันดับที่ 3 คือ ข้อกำหนด 8.2 ข้อกำหนอผลิตภัณฑ์และบริการ และ (3) พบปัญหาอุปสรรคจากการบูรณาการระบบการจัดการ คือ การตีความแต่ละข้อกำหนดขึ้นกับความเข้าใจของแต่ละบุคคลเกิดความไม่เข้าใจในบางประเด็นของเจตนารมย์ของข้อกำหนดใหม่ องค์กรไม่มีบุคลากรที่รับผิดชอบในการดำเนินการบูรณาการระบบการจัดการที่ทำงานด้านนี้แบบเต็มเวลา องค์กรมีขนาดใหญ่ทำให้ต้องใช้ระยะเวลาค่อนข้างนาน ข้อเสนอแนะในการบูรณาการระบบ คือ ควรจัดแผนการอบรมสำหรับผู้ตรวจประเมินภายในเกี่ยวกับความรู้พื้นฐาน การจัดทำรายการตรวจประเมินภายในอย่างละเอียดเพื่อเป็นแนวทางในการตรวจประเมินและการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาปรับใช้ในการดำเนินการให้มากขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectฮาร์ดดิสก์--การผลิต--แง่อนามัยth_TH
dc.subjectฮาร์ดดิสก์--การผลิต--มาตรการความปลอดภัยth_TH
dc.titleการบูรณาการระบบการจัดการด้านคุณภาพ อาชีวอนามัย และความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมของบริษัทผลิตฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์แห่งหนึ่งในจังหวัดปราจีนบุรีth_TH
dc.title.alternativeIntegration of quality, occupational health and safety, and environmental management system for a hard disk drive company in Prachin Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to assess an integration of the Quality Management System (ISO 9001:2015), the Occupational Health and Safety Management System (ISO 45001:2018) and the Environmental Management System (ISO14001:2015); (2) to study the integrated management system implementation in a company; and (3) to analyze problems and obstacles in implementing an integrated management system, all of a hard disk drive production company in Prachin Buri province. This study involved the collection of qualitative data through documentary reviews of requirements for quality management system and occupational health and safety and environmental management systems, documents on internal and external audits of the company in 2019, and content analysis and summarization of qualitative information. The results showed that: (1) All the three management systems used the same high-level structure based on the PDCA and risk-based concepts; and 78% of their requirements could be combined. So, reductions could be made in internal audit hours by 66.7%, the number of information documents by 41.2% and management system training days by 55%; (2) The top three nonconformities found were: first, requirement clause no. 8.1, operational planning and control; second, requirement clause no. 6.1, actions to address risks/opportunities and clause no. 7.5, documented information; and third, requirement no. 8.2, emergency preparedness and response; and (3) The management system integration problems identified were the different interpretation of each requirement depending on individual understanding, misunderstanding in some aspects of the intent of the new requirements, no full-time staff responsible for implementing the integrated system for the organization, and long-time consumption for such a large organization. It is thus suggested that, for management system integration, a training program should be carried out for internal auditors on basic knowledge of this matter; a detailed internal audit checklist should be prepared for use as audit guidelines; and more new technologies should be used for this efforten_US
dc.contributor.coadvisorปธานิน แสงอรุณth_TH
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons