Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10891
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์th_TH
dc.contributor.authorก่อเกียรติ ฐานวิเศษth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-15T08:13:03Z-
dc.date.available2023-12-15T08:13:03Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10891en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐานเกี่ยวกับงานการ วัดและประเมินผล (2) ประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการดำเนินงานเกี่ยวกับงานการวัดและ ประเมินผล (3) ประเมินคุณภาพด้านผลผลิตเกี่ยวกับงานการวัดและประเมินผล และ (4) ศึกษาปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนางานการวัดและประเมินผล ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 1 การวิจัยครั้งนี้ใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ที่สำคัญ คือ (1) แหล่งข้อมูลประเภทเอกสาร ได้แก่ แผนปฏิบัติการประจำปี เอกสารสรุปผลการเรียน แบบประเมินตนเองของสถานศึกษา แบบประเมิน คุณภาพผู้เรียน และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษา และ (2) แหล่งข้อมูลประเภทบุคคล ประกอบด้วย (1) ผู้บริหาร (2) ครูฝ่ายวัดและประเมินผล (3) ครูผู้สอนรายวิชา จากสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 1 จำนวนทั้งหมด 284 โรงเรียน รวมผู้ให้ ข้อมูล 852 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกข้อมูล และแบบสอบถามประเภท มาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ผลการประเมินความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐานเกี่ยวกับงานการวัดและ ประเมินผล อยู่ในระดับพร้อมมาก/ระดับดี (2) ผลการประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการดำเนินงาน เกี่ยวกับงานการวัดและประเมินผล อยู่ในระดับดี (3) ผลการประเมินคุณภาพด้านผลผลิตเกี่ยวกับงานการ วัดและประเมินผล อยู่ในระดับดี ตัวบ่งชี้ เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนเฉลี่ยสะสมของผู้เรียนกับ คะแนนผลการประเมินระดับชาติ อยู่ในระดับพอใช้ และ (4) ปัญหา อุปสรรคที่สำคัญด้านงานการวัดและ ประเมินผล คือ ปัญหาเกี่ยวกับบุคลากรและมาตรฐานของผลการประเมินพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยมี ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนางานที่สำคัญ คือ ควรพัฒนาสมรรถนะด้านการวัดและประเมินผลของบุคลากร ควรสร้างมาตรฐานงานการวัดและประเมินผลของสถานศึกษาให้มีคุณภาพใกล้เคียงกัน และควรการใช้ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงานด้านการวัดและประเมินผลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.132en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการวัดผลทางการศึกษาth_TH
dc.subjectโรงเรียน--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินประสิทธิภาพงานการวัดและประเมินผลของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 1th_TH
dc.title.alternativeAn evaluation of the efficiency of measurement and evaluation work of schools in Chaiyaphum educational service area 1th_TH
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.132-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การประเมินการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to evaluate the readiness in terms of inputs for measurement and evaluation work; (2) to evaluate the efficiency of operation process of measurement and evaluation work; (3) to evaluate the quality of products of measurement and evaluation work; and (4) to study problems, obstacles, and guidelines for development of measurement and evaluation work of schools in Chaiyaphum Educational Service Area 1. This research employed research data from main information sources comprising (1) documents consisting of the annual operation plan, summary reports on learning outcomes, school self assessment reports, student quality reports, and other documents pertaining to school measurement and evaluation work; and (2) human data source consisting of the total numbers of 852 administrators, teachers in charge of measurement and evaluation work; and classroom teachers from 284 schools in Chaiyaphum Educational Service Area 1. The data collecting instruments were a data recording form, and a 5-scale rating scale questionnaire. Statistics for data analysis were the percentage, mean, and standard deviation. Research findings showed that (1) the readiness in terms of inputs of measurement and evaluation work was assessed as being at the high level; (2) the efficiency of operation process of measurement and evaluation work was assessed as being at the high level; (3) the quality of products of measurement and evaluation work was assessed at being at the high level, and the indicator on the relationship between the cumulative grade point average of students and the national assessment score was at the moderate level; and (4) the main problems and obstacles of school measurement and evaluation work were the personnel problem and the problem concerning the standards of the learner quality development assessment outcomes; while main recommendations for development of measurement and evaluation work were the school should develop competencies of personnel on measurement and evaluation work, should upgrade the quality of measurement and evaluation standards of various schools to similar levels, and should apply technology to help improving the school measurement and evaluation work.en_US
dc.contributor.coadvisorบัณฑิต แท่นพิทักษ์th_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons