Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10908
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพัตรา แผนวิชิต | th_TH |
dc.contributor.author | อำนาจ โกสวัสดิ์, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T06:27:33Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T06:27:33Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10908 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และหลักกฎหมาย การใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการในการสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่จะไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชน (2) เพื่อศึกษาแนวคิดตามรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับการดำเนินคดีอาญาของผู้ชุมนุมในที่สาธารณะตาม พ.ร.บ. การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558 (3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหาการสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่จะไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนของพนักงานอัยการในประเทศอังกฤษและเยอรมนี เพื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทย (4) เพื่อศึกษาและเสนอแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์ การสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่จะไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนของพนักงานอัยการในคดีเกี่ยวกับการชุมนุมสาธารณะ ให้ชัดเจนมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การวิจัยฉบับนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมายประเภทการวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีการศึกษา การวิจัยเอกสารจากตำรากฎหมาย บทความทางวิชาการ รายงาน การวิจัยวิทยานิพนธ์ ตำราทางวิชาการ บทความในเอกสาร ข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อนำมารวบรวมและวิเคราะห์ให้เป็นระบบ เพื่อทำการศึกษาหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาพบว่า (1) การใช้ดุลพินิจของพนักงานอัยการในการสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่จะไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชนยังไม่มีหลักเกณฑ์และแนวทางที่ชัดเจน และนิยามคำว่า “ประโยชน์แก่สาธารณะ” ยังไม่ได้บัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง (2) รัฐธรรมนูญให้สิทธิเสรีภาพประชาชนในการชุมนุมสาธารณะได้ แต่ต้องเป็นไปโดยสงบและปราศจากอาวุธและไม่กระทบต่อสิทธิของประชาชนทั่วไป (3) ประเทศอังกฤษและเยอรมนีได้วางแนวทางทุกขั้นตอนในการพิจารณาไว้ให้พนักงานอัยการ โดยมีการประกาศกำหนดหลักเกณฑ์การใช้ดุลพินิจไว้อย่างชัดแจ้งและเปิดเผยต่อสาธารณชน (4) ผู้ศึกษาจึงเสนอแนะให้กำหนดหลักเกณฑ์การสั่งไม่ฟ้องคดีที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนไว้อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน ทั้งยังกำหนดไว้เป็นหลักการสั่งคดีอย่างเป็นขั้นตอน และเผยแพร่ต่อสาธารณชนให้รับรู้ถึงหลักการดังกล่าว | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การชุมนุมสาธารณะ--ไทย | th_TH |
dc.subject | การฟ้องคดีอาญา | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | ดุลพินิจของพนักงานอัยการในการสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่ไม่เป็นประโยชน์แก่สาธารณชน กรณีการชุมนุมในที่สาธารณะ | th_TH |
dc.title.alternative | Public prosecutor's discretion in the non-criminal prosecution orderings which are not public interests : a case of public assembly | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objective of this independent study is (&) to study the concepts, theories, and principles of law, and the public prosecutor’s exercise of the discretion in the non-criminal prosecution orderings which are not public interests, ( $ ) to study the concepts pursuant to the Constitution relating to the criminal proceedings against the protestors in the public place pursuant to the Public Assembly Act B.E. $::) (2015), (*) to study and analyze the problems, obstacles, and problem solving guidelines for the public prosecutor’s non-criminal prosecution orderings which are not public interests in England and Germany when compared with those in Thailand, (' ) to study and suggest a guideline for determining the rules of the public prosecutor’s non-criminal prosecution orderings which are not public interests the public in cases of public assembly to be clear, appropriate and efficient. This research is a legal research in type of qualitative research. The studying method is a documentary research from legal codes, academic articles, papers, thesis researches, academic textbooks, articles in documents, data from electronic media, which are taken for the systematic collection and analysis to conduct the study for finding the conclusions and suggestions. The finding of the studying results indicated as follows: (1) there have not yet been the clear rules and guidelines for the public prosecutor’s exercise of the discretion in the non-prosecution orderings which are not public interests, and a definition of “public interest” term has not yet been explicitly formulated, ($) the Constitution grants the rights and freedoms to the people in public assembly, but must be peacefully taken place without weapons and impacts on the rights of the common people, (*) England and Germany have established a guideline in every consideration procedure for the public prosecutor, whereas the rules of the exercise of discretion have been explicitly prescribed in the notification, and publicly disclosed, ( ' ) therefore, the researcher has suggested to concretely and clearly prescribe the rules of the non-criminal prosecution orderings which are not public interests, and also prescribe as the principle of the procedural case ordering, and publicize to public for awareness on the said principle | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
166847.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License