Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10909
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | โกศล มีคุณ | th_TH |
dc.contributor.author | ธัญวิภา ทองใหม่ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T06:30:11Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T06:30:11Z | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10909 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเลือกสาขางานที่เรียนได้ อย่างเหมาะสมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ที่มีการรับรู้สถานการณ์ทางสังคมต่างกัน (2) เปรียบเทียบพฤติกรรมการเลือกสาขางานที่เรียนได้อย่างเหมาะสมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ที่มีจิตลักษณะต่างกัน (3) เปรียบเทียบการทำนายพฤติกรรมการเลือกสาขางานที่เรียนได้อย่าง เหมาะสม ด้วยตัวแปรกลุ่มสถานการณ์ทางสังคมร่วมกับตัวแปรกลุ่มจิตลักษณะกับตัวแปรกลุ่มใดกลุ่ม หนึ่งเพียงกลุ่มเดียว กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพโรงเรียนกรุงเทพการบัญชี วิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 339 คนได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ ตัวแปรใน การวิจัยมี 7 ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบวัดปัจจัย สถานการณ์ แบบวัดปัจจัยจิตลักษณะ และแบบวัดพฤติกรรมการเลือกสาขางานที่เรียนได้อย่างเหมาะสม แบบวัดตัวแปรทั้ง 7 ชุด เป็นแบบวัดประเภทมาตรประเมินรวมค่า มีค่าความเที่ยงตั้งแต่ .69 ถึง .89 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบสามทาง การวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ และการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มเป็นรายคู่ ด้วยวิธีของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า(1)เมื่อเปรียบเทียบตามตัวแปรสถานการณ์ทางสังคม นักเรียนที่มีพฤติกรรม การเลือกสาขางานที่เรียนได้อย่างเหมาะสม คือนักเรียนที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบใช้เหตุผลน้อยแต่มีตัว แบบเพื่อนที่ดีมาก(2) เมื่อเปรียบเทียบตามตัวแปรจิตลักษณะนักเรียนที่มีพฤติกรรมการเลือกสาขางานที่เรียน ได้อย่างเหมาะสมคือนักเรียนที่มีเอกลักษณ์แห่งอีโก้สูง ซึ่งมีลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตนสูงและมีแรงจูงใจ ใฝ่สัมฤทธิ์สูง (3) เมื่อเปรียบเทียบการทำนาย ชุดตัวทำนายที่ประกอบด้วยสถานการณ์ทางสังคม 3 ตัวแปร จิตลักษณะ3 ตัวแปร ร่วมกันทำนายพฤติกรรมการเลือกสาขางานที่เรียนได้อย่างเหมาะสมได้ไม่ดีกว่ากลุ่มตัว แปรกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งโดยลำพัง(ไม่เกิน5%) ขณะที่ได้พบว่าตัวทำนายสำคัญของพฤติกรรมการเลือกสาขา งาน คือ เอกลักษณ์แห่งอีโก้ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน โดยตัวแปรทั้งสาม ร่วมกันสามารถทำนายพฤติกรรมการเลือกสาขางานได้ร้อยละ 30.8 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2009.162 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาทางวิชาชีพ | th_TH |
dc.subject | นักเรียนอาชีวศึกษา--พฤติกรรม.--ไทย | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเลือกสาขางานที่เรียนได้อย่างเหมาะสมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ | th_TH |
dc.title.alternative | Factors related to appropriate field of study selection behaviors of Vocational Certificate Level Students | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2009.162 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study was a correlation comparative research with the purposes to: (1) compare appropriate field of study selection behaviors of students with differently perceived social situations; (2) compare appropriate field of study selection behaviors of students with different psychological traits; and (3) compare predictability of using the combined social situations factors and psychological factors to predict appropriate field of study selection behaviors of students with that of using either group of factors alone . The research sample consisted of 339 Vocational Certificate Program students studying in the second semester of the 2008 academic year at Bangkok Business College, obtained by stratified random sampling. Seven variables were included in this study. The research instruments consisted of a general information questionnaire, a social situation factors questionnaire, a psychological factors questionnaire, and an appropriate field of study selection behaviors questionnaire. All of them were summated rating scale questionnaires with reliabilities ranging from .69 to .89. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, three-way ANOVA, multiple regression analysis, and Scheffe's method of pair-wise comparison. The research findings revealed that (1) when compared by social situation factors,students who had high level of appropriate field of study selection behaviors were those from families with less use of reasons, and had good peer models; (2) when compared by psychological factors, students who had high level of appropriate field of study selection behaviors were those who were with high level of ego identity, or who were future - oriented with high level of self control, or who had high achievement motivation level ; and (3) when compared predictability the predictors set combining three social situation factors, and three psychological factors could predict appropriate field of study selection behaviors not better than either group of factors alone ( not more than 5%), the main predictors of student's appropriate field of study selection behaviors were : ego identity, achievement motivation and future -oriented characteristics with self control. These main predictors had the combined predictability of 30.8 percent. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เจียรณัย ทรงชัยกุล | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License