Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10910
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพัตรา แผนวิชิต | th_TH |
dc.contributor.author | วิภาวดี ครสวรรค์, 2534- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-19T06:45:11Z | - |
dc.date.available | 2023-12-19T06:45:11Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10910 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ (1) ศึกษาถึงแนวคิด ทฤยฎี เกี่ยวกับการใช้ดุลพินิจของศาลในการลดโทษของจำเลยที่รับสารภาพในคดีข่มขืนแล้วฆ่า (2) ศึกษาถึงแนวทางในการบังคับใช้กฎหมายของไทย เกี่ยวกับการใช้ดุลพินิจของศาลในการลดโทษของจำเลยที่รับสารภาพในคดีข่มขืนแล้วฆ่า และ (3) ศึกษาถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหากฎหมายของไทยและต่างประเทศ และข้อบกพร่องของกฎ หมายที่เกี่ยวกับการใช้ดุลพินิจของศาลในการลดโทษของจำเลยที่รับสารภาพในคดีข่มขืนแล้วฆ่า การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหลักกฎหมาย บทบัญญัติของกฎหมาย คำพิพากษาของศาล บทความวารสารต่าง และเปรียบเทียบกับต่างประเทศ แล้วนำมาพิเคราะห์ในข้อมูลที่ทำการศึกษา แล้วนำมาสู่การแก้ไข ปรับปรุง และนำเสนอเพื่อประยุกต์ใช้ในกระบวนการทางอาญาผลการศึกษา พบว่า (1) ศาลสามารถลดโทษไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษแก่ผู้กระทำความผิดในคดีข่มขืนแล้วฆ่า หากเมื่อจำเลยให้การรับสารภาพที่เป็นประโยชน์ในการพิจารณาคดีของศาล (2) การลดโทษของจำเลยที่รับสารภาพในคดีข่มขืนแล้วฆ่า เป็นการใช้ดุลพินิจของศาลในแต่ละคดีเป็นเรื่อง ๆไป ไม่อาจนำมาใช้เป็นเกณฑ์ทั่วไปในทุกคดีได้ และยังไม่มีบทบัญญัติใดกำหนดหลักเกณฑ์ไว้ เพื่อเป็นแนวทางในการใช้ดุลพินิจของศาลเพื่อลดโทษแก่จำเลยที่รับสารภาพในคดีข่มขืนแล้วฆ่า (3) ประเทศสหรัฐอเมริกามีคณะกรรมการกำหนดโทษแก่จำเลย โคยการชี้ขาคจากเสียงข้างมาก และมีตารางการกำหนดโทษ เพื่อเป็นแนวทางในการลงโทษผู้กระทำความผิดอย่างเหมาะสม ส่วนประเทศฝรั่งเศสมีการกำหนดอัตราโทยอย่างสูงเพื่อเปิดโอกาสให้ผู้พิพากษาสามารถใช้ดุลพินิจได้ตามความเหมาะสมในการลดโทษ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกับประเทศไทยเป็นอย่างมากจึงมีข้อเสนอแนะให้ศาลกำหนดบทลงโทษลงไปในแต่ละวิธีของการกระทำความผิดได้ โดยไม่ต้องใช้หลักดุลพินิจของศาลมาประกอบการพิจารณา เพื่อให้การกำหนดบทลงโทษแก่ผู้กระทำความผิดในคดีข่มขืนแล้วฆ่า เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเกิดความยุติธรรมต่อสังคมโดยรวม | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | อาชญากรรมทางเพศ | th_TH |
dc.subject | เหตุบรรเทาโทษ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.title | ดุลพินิจของศาลในการลดโทษ: ศึกษากรณีจำเลยรับสารภาพ ข่มขืนแล้วฆ่า | th_TH |
dc.title.alternative | Judicial discretion in commutation: a case study of the defendant's admission in rape and kill | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this independent research are (1) to study the concepts and theories relating to the exercise of the judicial discretion in commuting to the defendant who admits in rape and kill case, (2) to study the concepts in enforcing Thai laws relating to the exercise of the judicial discretion in commuting to the defendant who admits in rape and kill case, and (3) to study on the solution concepts of Thai and foreign law problems, and the drawbacks of laws relating to the exercise of the judicial discretion in commuting to the defendant who admits in rape and kill case. This independent study is a qualitative research by collecting data from documents, principles of law, legal provisions, judicial judgments, articles and journals, comparing with those of the foreign countries, considering the studying data, and then leading to correction, improvement, and presentation for applying in the criminal procedure. The study results revealed that: (1) the Court can commute, not more than half of the punishment, to the offender, if the defendant pleads guilty for the benefit of a court ruling; (2) the commutation to the defendant who admits in rape and kill case is under the judicial discretion on an individual matter basis and cannot be applied as general criteria for all cases. Moreover, the rule has not yet been prescribed as a guideline for exercising the judicial discretion on commuting to the defendant who admits in rape and kill cases; (3) the United States of America provides the Imposition Committee to the defendant using majority votes and provides the schedule of penalty as a guideline for punishing the offenders. Whereas in France, the commutation is under the judicial discretion, which is similar to that of Thailand. Therefore, the research has given a suggestion that the court should determine the penalty in each offence method without the requirement for exercising the principle of the judicial discretion to support the consideration so that the determination of the penalty for the offender in rape and kill case can be in the same direction and creates justice for the society as a whole. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
166855.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License