Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10953
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรณพ จีนะวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | สหชัย วันทอง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-12-21T03:49:24Z | - |
dc.date.available | 2023-12-21T03:49:24Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10953 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553 | th_TH |
dc.description.abstract | ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้บริหารสถานศึกษา มีระดับการปฏิบัติตามบทบาทการ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการปฏิบัติตามบทบาทการบริหาร งานวิชาการของผู้บริหาร ในเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 2 (2) เปรียบเทียบระดับการ ปฏิบัติตามบทบาทการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารตามขนาดโรงเรียน (3) ศึกษาผลการประเมิน มาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาด้านผู้เรียน (4) เปรียบเทียบผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพ สถานศึกษาด้านผู้เรียนตามขนาดโรงเรียน และ (5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทการ บริหารงานวิชาการของผู้บริหารกับมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาด้านผู้เรียน กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูล คือ หัวหน้างานบริหารงานวิชาการในโรงเรียน ประถมศึกษา ในเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 2 จำนวน 108 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเองมีค่าความเที่ยง เท่ากับ .98 และแบบสำรวจผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาด้านผู้เรียน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และค่าสหสัมพันธ์แบบ เพียร์สัน บริหารงานวิชาการอยู่ในระดับมาก (2) ผู้บริหารในโรงเรียน ขนาดต่างกันมีการปฏิบัติตาม บทบาทการบริหารงานวิชาการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (3) ผลการ ประเมินมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาด้านผู้เรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับดี (4) โรงเรียนที่มีขนาด ต่างกันมีผลการประเมินมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาด้านผู้เรียนไม่แตกต่างกัน และ (5) บทบาท การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารกับมาตรฐานคุณภาพสถานศึกษาด้านผู้เรียน มีความสัมพันธ์กัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในบทบาทเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น และบทบาท การคัดเลือกแบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.25 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาขั้นพื้นฐาน--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | คุณภาพการศึกษา--ไทย | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารกับคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพระนครศรีอยุธยาเขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | The relationships between academic affairs administration roles of administrators and quality of learners in basic education schools under the office of Phra Nakhon Si Ayutthaya Educational Service Area 2 | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2010.25 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The sample of research informants consisted of 108 heads of academic The purposes of this research were to (1) study the level of performance based on academic affairs administration roles of school administrators in Phra Nakhon Si Ayutthaya Educational Service Area 2; (2) compare the levels of performance based on academic affairs administration role of school administrators classified by school size; (3) study results of the learner quality standards assessment of the schools; (4) compare results of the learner quality standards assessment of the schools classified by school size; and (5) study the relationships between academic affairs administration roles of administrators and learner quality standards of the schools. affairs administration in primary schools in Phra Nakhon Si Ayutthaya Educational Service Area 2, obtained by stratified random sampling. The employed research instruments were a rating scale questionnaire, developed by the researcher, with .98 reliability coefficient and a survey form on results of the learner quality standards assessment of the schools. The employed statistics were the frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and Pearson's product-moment correlation coefficient. The research findings revealed that (1) the level of performance based on academic affairs administration roles of school administrators was at the high level; (2) administrators of schools of different sizes significantly differed in their levels of performance based on academic affairs administration roles at the .05 level; (3) the overall rating of the learner quality standards assessment of the schools was at the high level; (4) schools of different sizes did not significantly differ in their rating results of learner quality standards assessment; and (5) two roles of administrator's academic affairs administration, namely, the role on local curriculum development and the role on selection of texts for use in school correlated significantly at the .05 level with the result of learner quality standards assessment of the school. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ชาติ แจ่มนุช | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License