Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10967
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดรุณี จำปาทองth_TH
dc.contributor.authorศศธร บำรุงth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T07:26:20Z-
dc.date.available2023-12-21T07:26:20Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10967en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบการปรับตัวทางสังคมของนักเรียน บกพร่องทางการได้ยิน ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกลุ่ม (2) เปรียบเทียบการปรับตัว ทางสังคมของนักเรียนบกพร่องทางการได้ยิน ก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกลุ่มเป็น รายด้าน และ (3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนบกพร่องทางการได้ยินที่มีต่อชุดกิจกรรมแนะแนว กลุ่ม โรงเรียนกาญจนาภิเษกสมโภชฯ จังหวัดปทุมธานี ปีการศึกษา 2553 ที่ได้โดยการเลือกแบบ เจาะจง จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 7 คน มีระดับการได้ยินอยู่ที่ 78 - 100 * เดซิเบล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ ชุดกิจกรรมแนะแนวกลุ่มเพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคม 3 ด้าน คือ ด้านการเข้าใจตนเอง ด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่น และด้านการทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น จำนวน 12 กิจกรรม แบบวัดการปรับตัวทางสังคมของเด็กบกพร่องทางการได้ยินแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบโดยวิธีของวิลคอกซัน ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนที่ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวกลุ่มมีการปรับตัวทางสังคม มากกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนที่ ได้รับชุดกิจกรรมแนะแนวกลุ่มมีการปรับตัวทางสังคมที่มากกว่าก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว กลุ่ม ทั้ง 3 ด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนบกพร่องทางการได้ยินมี ความคิดเห็นต่อชุดกิจกรรมแนะแนวกลุ่ม ในระดับมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 84.29th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.41en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนว--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินth_TH
dc.titleผลของการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวกลุ่มเพื่อพัฒนาการปรับตัวทางสังคมของเด็กบกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนกาญจนาภิเษกสมโภชฯ จังหวัดปทุมธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a group guidance activity package to develop social adjustment of hearing impaired children at Karnjana Pisek Sompoj School in Pathum Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2010.41-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การแนะแนว)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the pre-learning and post-learning achievements of Mathayom Suksa III students who were taught with the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together; and (2) to study the ability to work with the others of Mathayom Suksa III students who were taught with the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together. The research sample consisted of 19 Mathayom Suksa III students of Wat Khlong Sai Community School, Wihan Daeng district, Saraburi province during the second semester of the 2016 academic year, obtained by cluster sampling. The research instruments consisted of (1) learning management plans for the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together for Mathayom Suksa III level; (2) a learning achievement test in the topic of Peacefully Living Together; and (3) an assessment form on student’s ability to work with the others. Data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that (1) the post-learning achievement of the students who were taught with the small group discussion teaching method was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .01 level of statistical significance, and (2) the students’ ability to work with the others was at the highest level.en_US
dc.contributor.coadvisorวลัย อิศรางกูร ณ อยุธยาth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons