Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดรุณี จำปาทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุบล โพธิ์เขียว, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-12-21T07:26:54Z-
dc.date.available2023-12-21T07:26:54Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/10968-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนแบบอภิปรายกลุ่มย่อย เรื่อง การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และ (2) ศึกษาความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการสอนแบบอภิปรายกลุ่มย่อย เรื่อง การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชุมชนวัดคลองไทร อาเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 จำนวน 19 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบอภิปรายกลุ่มย่อย เรื่อง การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข และ (3) แบบประเมินความสามารถของนักเรียนในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบอภิปรายกลุ่มย่อยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ(2) ความสามารถของนักเรียนในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอยู่ในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.subjectการสื่อสารในกลุ่มขนาดเล็กth_TH
dc.titleผลการสอนแบบอภิปรายกลุ่มย่อย เรื่อง การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชุมชนวัดคลองไทร จังหวัดสระบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together on learning achievement and ability to work with the others of Mathayom Suksa III students at Wat Khlong Sia Community School in Saraburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare the pre-learning and post-learning achievements of Mathayom Suksa III students who were taught with the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together; and (2) to study the ability to work with the others of Mathayom Suksa III students who were taught with the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together. The research sample consisted of 19 Mathayom Suksa III students of Wat Khlong Sai Community School, Wihan Daeng district, Saraburi province during the second semester of the 2016 academic year, obtained by cluster sampling. The research instruments consisted of (1) learning management plans for the small group discussion teaching method in the topic of Peacefully Living Together for Mathayom Suksa III level; (2) a learning achievement test in the topic of Peacefully Living Together; and (3) an assessment form on student’s ability to work with the others. Data were statistically analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research results revealed that (1) the post-learning achievement of the students who were taught with the small group discussion teaching method was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .01 level of statistical significance, and (2) the students’ ability to work with the others was at the highest levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
167087.pdfเอกสารฉบับเต็ม23.63 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons