Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวรรณี ยหะกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอุษารัตน์ กอธงทอง, 2536--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-04T06:44:45Z-
dc.date.available2024-01-04T06:44:45Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11018-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกยาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองราชบุรีระหว่างกลุ่มที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบซินเนคติกส์และกลุ่มที่เรียนรู้แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบเจตคติของนักเรียนต่อการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองราชบุรีระหว่างกลุ่มที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบซินเนคติกส์และกลุ่มที่เรียนรู้แบบปกติกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาล 4 (วัดมหาธาตุวรวิหาร) จำนวน 2 ห้องเรียน จำนวนนักเรียนห้องเรียนละ 25 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่มเครื่องมือการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบซินเนคติกส์ (2) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบปกติ (3) แบบวัดความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ และ (4) แบบวัดเจตคติของนักเรียนที่มีต่อการเรียนภาษาไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์วิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบซินเนกติกส์สูงกว่าของกลุ่มที่เรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (2) เจตคติต่อการเรียนภายาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ : กลุ่มที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบซินเนคติกส์สูงกว่าของกลุ่มที่เรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการเขียนเชิงสร้างสรรค์ (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectการเขียนth_TH
dc.subjectภาษาไทย--การเขียน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.titleผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยรูปแบบซินเนคติกส์ ที่มีต่อความสามารถ ในการเขียนเชิงสร้างสรรค์และเจตคติต่อการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of learning activities management using the Synectics model on creative writing ability and attitude toward Thai language learning of Grade 6 students of schools under Ratchaburi Town Municipaliten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare creative writing ability of the group of Grade 6 students of schools under Ratchaburi Town Municipality who learned through the Synectics model with the counterpart ability of the group of Grade 6 students who learned through traditional instruction; and (2) to compare attitude toward Thai language learning of the group of Grade 6 students of schools under Ratchaburi Town Municipality who learned through the Synectics model with the counterpart attitude of the group of Grade 6 students who learned through traditional instruction. The research sample consisted of Grade 6 students in two intact classrooms, each of which consisting of 25 students, of Tessaban 4 (Wat Mahathat Worawiharn) School obtained by cluster random sampling. The research instruments were (1) learning activities management plans for the Synectics model; (2) learning activities management plans for traditional instruction; (3) a creative writing ability test; and (4) a scale to assess attitude toward Thai language learning. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) the creative writing ability of the group of Grade 6 students who learned through the Synectics model was significantly higher than the counterpart ability of the group of Grade 6 students who learned through traditional instruction at the .01 level of statistical significance; and (2) attitude toward Thai language learning of the group of Grade 6 students who learned through the Synectics model was significantly higher than the counterpart attitude of the group of Grade 6 students who learned through traditional instruction at the .01 level of statistical significance.en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168397.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.29 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons