Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11064
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุขอรุณ วงษ์ทิม | th_TH |
dc.contributor.author | คฑาวุธ แสงอรุณ, 2531- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-09T04:20:38Z | - |
dc.date.available | 2024-01-09T04:20:38Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11064 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบความคิดเชิงบวกของมารดากลุ่มทดลองหลัง คลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ก่อนและหลังการให้การปรึกษาแบบรายบุคคล และ2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเชิงบวกของมารดามารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ กลุ่มทดลองที่ ได้รับการให้การปรึกษาแบบรายบุคคลและกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลแบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในโรงพยาบาลสงขลา จำนวน 14 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง จากนั้นสุ่มอย่างง่ายเพื่อแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มควบคุม และกลุ่ม ทดลอง กลุ่มละ 7 คนเท่ากัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบวัดความคิดเชิงบวก ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .94 และ 2) โปรแกรมการให้การปรึกษาแบบรายบุคคลเพื่อส่งเสริมความคิด เชิงบวกแก่มารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ในโรงพยาบาลสงขลา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ การทดสอบวิลคอกซันและการทดสอบแมนวิทนีย์ ผลการวิจัย พบว่า 1) ภายหลังการให้การปรึกษา มารดากลุ่มทดลองหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ ไม่พึงประสงค์ มีความคิดเชิงบวกสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) ภายหลังการให้การปรึกษา มารดากลุ่มทดลองหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ มีความคิดเชิง บวก สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การให้คำปรึกษาแบบรายบุคคล | th_TH |
dc.subject | ความคิดทางบวก--การให้คำปรึกษาแบบรายบุคคล | th_TH |
dc.title | ผลของการให้การปรึกษาแบบรายบุคคลเพื่อส่งเสริมความคิดเชิงบวกแก่มารดาหลังคลอดที่ตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในโรงพยาบาลสงขลา | th_TH |
dc.title.alternative | The effect of individual counseling to enhance positive thinking of postpartum mothers with unwanted pregnancy in Songkhla Hospital | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This study aimed to 1) compare the positive thinking of Postpartum Mothers with Unwanted Pregnancy before and after individual counseling; and 2) compare the positive thinking of Postpartum Mothers with Unwanted Pregnancy experimental group and a control group after using the individual counseling. This research design was quasi-experimental. The samples were 14 Postpartum Mothers with Unwanted Pregnancy in Songkhla Hospital who will have so many problems and will coping behaviors less than 50 percentile. Then, simple sampling was done to divide them into 2 groups, the experimental group and the control group, 8 patients in each group. Research instruments were 1) the positive thinking questionnaires with Alpha’s Cronbach Coefficient reliability of .94, and 2) a individual counseling program for enhancing Positive Thinking. The statistics were median, quartile deviation, Wilcoxon Matched Pairs Singed-Ranks Test and Mann-Whitney U Test. The results showed that 1) after receiving the individual counseling, the experimental group of Postpartum Mothers with Unwanted Pregnancy had Positive Thinking higher than before with statistical significance at the level of 0.1, and 2) after receiving the individual counseling, the experimental group of Postpartum Mothers with Unwanted Pregnancy had Positive Thinking higher than the control group with statistical significance at the 0.1 level | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นิธิพัฒน์ เมฆขจร | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159593.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.1 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License