Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11153
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สังวรณ์ งัดกระโทก | th_TH |
dc.contributor.author | นุชจรินทร์ แจ่มสากล, 2523- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-18T07:47:49Z | - |
dc.date.available | 2024-01-18T07:47:49Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11153 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษารูปแบบคุณภาพผู้เรียนจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบคุณภาพผู้เรียนกับภูมิหลังของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ประชากรที่ใช้ศึกษา คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิทยาลัยนาฏศิลป์ทั่วประเทศจำนวน 1,039 คน ที่เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (0-NET) ปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แบบบันทึกผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ปีการศึกษา 2560 จำนวน 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และ (2) แบบบันทึกข้อมูลรายบุคคลของครู อาจารย์ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ การจัดกลุ่มข้อมูล การทดสอบไคสแควร์ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) คุณภาพผู้เรียนจากการวิเคราะห์การจัดกลุ่มผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 มี 3 รูปแบบ คือ กลุ่มที่ 1 กลุ่มผู้เรียนที่มีคะแนนปานกลางโดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมอยู่ในระดับดี แต่ต้องปรับปรุงในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษ กลุ่มที่ 2 กลุ่มผู้เรียนที่มีคะแนนสูงในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และกลุ่มที่ 3 กลุ่มผู้เรียนที่มีคะแนนต่ำในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ต้องได้รับการพัฒนาอย่างเร่งด่วน และ (2) รูปแบบคุณภาพผู้เรียนมีความสัมพันธ์กับงบประมาณทางการศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบคุณภาพผู้เรียนกับวุฒิการศึกษาและอายุเฉลี่ยของครู | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | การวัดผลทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | การทดสอบความสามารถ | th_TH |
dc.title | การจัดกลุ่มคุณภาพผู้เรียนจากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ | th_TH |
dc.title.alternative | Profiling Bunditpatanasilpa Institute students’ quality through cluster analysis of the Ordinary National Educational Test (O-Net) score | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to investigate the profile of student quality from the results of Ordinary National Education Test (O-NET) of Mathayom Suksa VI students of Bunditpatanasilpa Institute; and (2) to study the relationship between the student quality profile and Bunditpatanasilpa Institute’s background variables. The research population comprised 1,039 Mathayom Suksa VI students in the Colleges of Dramatic Arts throughout the country, who took the Ordinary National Education Test (O-NET) in the academic year 2017. The employed research instruments consisted of (1) the record sheets of the Ordinary National Education Test (O-NET) in six learning areas, namely, Thai Language; Mathematics; Science; Social Studies, Religion and Culture; and Foreign (English) Language; and (2) a record sheet of personal data of Bunditpatanasilpa Institute’s instructors . The data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA, cluster analysis, chi-square test, and content analysis. The results showed that (1) the student quality profile obtained by cluster analysis of the Ordinary National Education Test (O-NET) scores comprised 3 distinct groups: Group 1 was the group of students having moderate scores, with their scores in the Thai Language Learning Area and the Social studies, Religion and Culture Learning Area being at the high level; while their scores in the Mathematics Learning Area and the English Language learning Area being at the needed improvement level; Group 2 was the group of students having high scores in every learning area, especially in the English Language Learning Area; and Group 3 was the group of students who needed urgent improvement because they had low scores in all learning areas; and (2) the student quality profile had a statistically significant relationship with educational budget; however, there was no relationship between the student quality profile and instructors’ educational qualification and averaged age. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นลินี ณ นคร | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License