Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11156
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรรณพ จีนะวัฒน์ | th_TH |
dc.contributor.author | อับดุลรอห์มัน บาเน็ง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-01-18T08:03:52Z | - |
dc.date.available | 2024-01-18T08:03:52Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11156 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2553 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแบบพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 2 (2) ศึกษาระดับความผูกพันของครูที่มีต่อสถานศึกษา ในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 2 และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแบบพฤติกรรมการบริหาร ของผู้บริหารสถานศึกษากับความผูกพันของครูที่มีต่อสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 2 จำนวนทั้งสิ้น 302 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือเป็นแบบสอบถาม แบบมาตร ประมาณค่า 5 ระดับ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเที่ยง .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า (1) แบบพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในเขตพื้นที่ การศึกษายะลา เขต 2 ส่วนมากเป็นแบบมีส่วนร่วมและแบบสอนแนะ (2) ความผูกพันของครูที่มีต่อ สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมาก และ (3) ความสัมพันธ์ ระหว่างแบบพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับความผูกพันของครูที่มีต่อ สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 2 มีความสัมพันธ์กันในทางบวกอยู่ในระดับค่อนข้าง สูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยแบบพฤติกรรมการบริหารแบบมีส่วนร่วมมี ความสัมพันธ์กับความผูกพันของครูที่มีต่อสถานศึกษาในระดับค่อนข้างสูง (r =. 78) รองลงมาเป็น แบบพฤติกรรมการบริหารแบบมอบอำนาจและแบบสอนแนะมีความสัมพันธ์กับความผูกพันของ ครูที่มีต่อสถานศึกษาในระดับปานกลาง (r =. 51 และ r =. 45) ส่วนแบบพฤติกรรมการบริหารแบบ สั่งการมีความสัมพันธ์กับความผูกพันของครูที่มีต่อสถานศึกษาในระดับน้อย (r =. 34) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2010.27 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ผู้บริหารโรงเรียน--ไทย--ยะลา | th_TH |
dc.subject | ครู--ความผูกพันต่อองค์การ.--ไทย--ยะลา | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษากับความผูกพันของครูที่มีต่อสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between administration behaviors of school administrators and the commitment of teachers toward school in Yala Educational Service Area 2 | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2010.27 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to (1) study the administration behavior style of school administrators in Yala Educational Service Area 2; (2) study the level of commitment of teachers toward school in Yala Educational Service Area 2; and (3) study the relationship between administration behavior style of school administrators and commitment of teachers toward school in Yala Educational Service Area 2. The research sample consisted of 302 teachers and educational personnel in Yala Educational Service Area 2, obtained by stratified random sampling. The research instrument was a 5-scale rating questionnaire, developed by the researcher, with .91 reliability coefficient. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlation. Research findings were (1) the most prevalent administration behavior style of school administrators in Yala Educational Service Area 2 was the participating style, followed by the suggesting style; (2) the overall commitment of teachers toward school in Yala Educational Service Area 2 was at the high level; and (3) the administration behavior style of school administrators had positive relationships with the commitment of teachers toward school in Yala Educational Service Area 2, with the participating style having positive relationship with the commitment of teachers toward school at the rather high level (r =. 78), to be followed by the delegating style and the suggesting style with the positive relationships with the commitment of teachers toward school at the moderate level (r =. 51 and r = .45 respectively); while the directing style had positive relationship with the commitment of teachers toward school at the low level (r = .34) | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License