Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11194
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีรัตน์ อารีรักษ์สกุล ก้องโลกth_TH
dc.contributor.authorจำเนียร เหมาะสมาน, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-01-19T06:37:45Z-
dc.date.available2024-01-19T06:37:45Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11194en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การคิดแก้ปัญหาแบบฮิวริสติกส์กับกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การคิดแก้ปัญหาแบบฮิวริสติกส์กับกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 80 คน ใน 2 ห้องเรียน ๆ ละ 40 คน ของโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 เลือกมาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม แล้วจับฉลากเลือกเป็นกลุ่มทดลองซึ่งได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การคิดแก้ปัญหาแบบฮิวริสติกส์และกลุ่มควบคุมซึ่งได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง เศษส่วน และแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้การคิดแก้ปัญหาแบบฮิวริสติกส์ และแผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง เศษส่วน ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนคณิตศาสตร์โดยใช้การคิดแก้ปัญหาแบบฮิวริสติกส์สูงกว่าของกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การคิดแก้ปัญหาแบบฮิวริสติกส์มีความแตกต่างกันกับของนักเรียนกลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น และความคิดริเริ่มth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--ศรีสะเกษth_TH
dc.subjectการแก้ปัญหา--คณิตศาสตร์th_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้การคิดแก้ปัญหาแบบฮิวริสติกส์เรื่อง เศษส่วน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeThe effects of mathematics learning management using heuristics problem solving thinking approach in the topic of Fractions on mathematics learning achievement and mathematics creative thinking of Mathayom Suksa I students in Si Sa Ket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to compare science learning achievement in the topic of Biomolecules of second year students at Armed Forces Academies Preparatory School, Nakhon Nayok province learning under the context-based learning management with that of students learning under the conventional teaching method; and (2) to compare scientific argumentation skills in the topic of Biomolecules of second year students at Armed Forces Academies Preparatory School, Nakhon Nayok province learning under the context-based learning management with those of students learning under the conventional teaching method. The research sample consisted of 70 second year students in two intact classrooms of Armed Forces Academies Preparatory School, Nakhon Nayok province during the second semester of academic year 2018, obtained by cluster random sampling. Then the two classrooms were randomly assigned into an experimental group and a control group. The employed research instrument comprised 5 learning management plans in the topic of Biomolecules. The data collecting instruments were a learning achievement test and a scientific argumentation skills test. Data were analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) science learning achievement in the topic of Biomolecules of second year students at Armed Forces Academies Preparatory School, Nakhon Nayok province learning under the context-based learning management was significantly higher than the counterpart learning achievement of students learning under the conventional teaching method at the .05 level of statistical significance; and (2) scientific argumentation skills in the topic of Biomolecules of second year students at Armed Forces Academies Preparatory School, Nakhon Nayok province learning under the context-based learning management was significantly higher than the counterpart skills of students learning under the conventional teaching method at the .05 level of statistical significanceen_US
dc.contributor.coadvisorต้องตา สมใจเพ็งth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.79 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons