Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรฐา ทองแก้ว, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-14T07:54:19Z-
dc.date.available2024-02-14T07:54:19Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11470-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างชุดกิจกรรมในการส่งเสริมการคิดหัวข้อและ การเขียนข้อเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 (2) ศึกษาความสามารถ ในการคิดหัวข้อโครงงานและการเขียนข้อเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนเทียบกับเกณฑ์ ร้อยละ 70 และ (3) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดหัวข้อโครงงานและการเขียนข้อเสนอโครงงาน วิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการฝึกโดยใช้ชุดกิจกรรมกับนักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 56 คน โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล อำเภอฉวาง จังหวัด นครศรีธรรมราช ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ประกอบด้วย (1) ชุดกิจกรรม การส่งเสริมการคิดหัวข้อและการเขียนข้อเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ (2) แผนการจัดการเรียนรู้โดย ใช้ชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ (3) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (4) แบบประเมินการ เขียนข้อเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที การวิจัยปรากฏผลดังนี้ (1) ชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้น มีประสิทธิภาพ 81.73 / 82.62 (2) นักเรียนที่ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์มีคะแนนความสามารถ ในคิดหัวข้อและการเขียนข้อเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ หลังการฝึกโดยใช้ชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ สูงกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) นักเรียนที่ ได้รับการฝึกด้วยชุดกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์มีความสามารถในการคิดหัวข้อและการเขียน ข้อเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโครงงานวิทยาศาสตร์th_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการคิดหัวข้อและการเขียนข้อเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดสามัคคีนุกูล จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using an activity package to promote thinking of titles and writing of science project proposals of Mathayom Suksa V students at Wat Samakkeenukun School in Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to develop an activity package to promote thinking of titles and writing of science project proposals based on the 80/80 efficiency criterion; (2) to study the students' scores on ability to think of project titles and to write science project proposals, as compared to the criterion of 70 percent of full score; and (3) to compare the ability to think of project titles and writing science project proposals of students who were trained with the activity package with counterpart ability of the students who learned under conventional teaching. The research sample comprised 56 Prathom Suksa V students in two intact classrooms of Wat Samakkeenukun School, Chawang District, Nakhon Si Thammarat Province during the second semester of the 2017 academic year, obtained by cluster random sampling method. The research instruments were (1) an activity package to promote thinking of titles and writing of science project proposals; (2) learning management plans for instruction with the use of the activity package; (3) learning management plans for conventional teaching; and (4) a writing of science project proposals assessment form. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the developed activity package to promote thinking of titles and writing of science project proposals was efficient at 81.73 / 82.62; (2) the post-training scores on thinking of titles and writing of science project proposals of the students who were trained with the activity package were significantly higher than the criterion of 70 percent of full score at the .05 level of statistical significance; and (3) the ability to think of titles and write science project proposals of the students who were trained with the activity package was significantly higher than the counterpart ability of the students who learned under conventional teaching at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159613.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.2 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons