Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวรรณี ยหะกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอภิรักษ์ อนะมาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ่งทิวา ฉิมกูล, 2532--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-19T03:57:16Z-
dc.date.available2024-02-19T03:57:16Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11496-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 256th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดสระไคร จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนจากวิธีสอนแบบพาโนรามาร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก และ (2) เปรียบเทียบความสามารถการเขียนสรุปความภาษาไทยของนักเรียนดังกล่าว ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนจากวิธีสอนแบบพาโนรามาร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนวัดสระไคร จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 30 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้วิธีสอนแบบพาโนรามาร่วมกับเทคนิคผังกราฟิก (2) แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านจับใจความ และ (3) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการเขียนสรุปความภาษาไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที่ผลของการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสามารถการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความสามารถการเขียนสรุปความภาษาไทยของนักเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการอ่านตีความ--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.subjectการเขียน--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)--ไทย--นครศรีธรรมราชth_TH
dc.titleผลการใช้วิธีสอนแบบพาโนรามาร่วมกับเทคนิคผังกราฟิกที่มีต่อความสามารถการอ่านจับใจความและการเขียนสรุปความภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดสระไคร จังหวัดนครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using Panorama teaching method together with graphic mapping technique on Thai language interpretive reading ability and conclusion writing ability of Prathom Suksa IV students at Wat Srakrai School in Nakhon Si Thammarat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare interpretive reading abilities of Prathom Suksa IV students at Wat Srakrai School in Nakhon Si Thammarat province before and after learning from the Panorama teaching method together with graphic mapping technique; and (2) to compare conclusion writing abilities of the students before and after learning from the Panorama teaching method together with graphic mapping technique. The research sample consisted of 30 Prathom Suksa IV students in an intact classroom of Wat Srakrai School in Nakhon Si Thammarat province during the first semester of the 2019 academic year, obtained by cluster random sampling. The employed research instruments were (1) learning management plans in the Thai Language Learning Area at Prathom Suksa IV level for the Panorama teaching method together with graphic mapping technique; (2) an interpretive reading ability test; and (3) a Thai language conclusion writing ability test. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings showed that (1) the post-learning interpretive reading ability of Prathom Suksa IV students was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-learning Thai language conclusion writing ability of the students was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163559.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons