Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสภนา สุดสมบูรณ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสฤษดิ์พงษ์ ลิมปิษเฐียร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิตตินันท์ พลเสน, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-19T06:59:48Z-
dc.date.available2024-02-19T06:59:48Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11505-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาวะผู้นาเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา (2) ศึกษาระดับการส่งเสริมสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานของผู้บริหารสถานศึกษา (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์กับการส่งเสริมสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน และ (4) เสนอแนวทางการส่งเสริมสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกเป็นครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 214 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามขนาดสถานศึกษา และกลุ่มที่สองเป็นผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบโครงการห้องเรียนสีเขียว จำนวน 8 คน เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์และการส่งเสริมสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน มีความเที่ยงเท่ากับ .97 และ .98 ตามลำดับ และ 2) แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การมีวิสัยทัศน์ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ความคิดสร้างสรรค์ (2) การส่งเสริมสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดเท่ากัน 2 ด้าน คือ ด้านนโยบายและระบบการดำเนินการตามนโยบายของโรงเรียนและด้านหลักสูตรและกระบวนการเรียนการสอน และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการจัดซื้อการใช้ผลิตภัณฑ์และการจัดการขยะในโรงเรียน (3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการส่งเสริมสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานมีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูงที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 และ (4) แนวทางการส่งเสริมสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน ได้แก่ ผู้บริหารควรศึกษาข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ยอมรับการเปลี่ยนแปลง สร้างความตระหนักและสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานของบุคลากรทุกฝ่ายด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์กับการส่งเสริมสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงานของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between creative leaderships and the promoting for excellent energy school under Bangkok Primary Education Service Area Officeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (บริหารการศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were: (1) to study the level of creative leadership of school administrators; (2) to study the level of promoting for excellent energy school; (3) to study of the relationship between creative leadership and promoting for excellent energy school; and (4) to propose guidelines for promoting for excellent energy school under Bangkok Primary Education Service Area Office. The sample consisted of 2 groups, the first group was 214 teachers under Bangkok Primary Education Service Area Office, obtained by stratified random sampling as classified by school size, and the second group was 8 school administrators and respondents of the Green Classroom Project obtained by purposive sampling. The employed research instruments were a questionnaire on creative leadership of the school administrators and promoting for excellent energy school, with reliability coefficient of .97 and .98, respectively; and an interview form. Statistics used for data analysis were the frequency, percentage, means, standard deviation, Pearson product-moment correlation coefficient, and content analysis. The research findings were as follows: (1) the overall and each aspect of creative leadership of the school administrators were rated at the high level, with the highest ranking mean of the visionary aspect, and the lowest one of the creative aspect; (2) the overall and each aspect of promoting for the excellent energy school were at the high level, with the highest ranking mean of the policy and school policy implementation system aspect and the curriculum and teaching-learning process aspect, and the lowest one of the purchasing, product use, and school waste management aspect; (3) the creative leadership of school administrators correlated positively with the promoting for the excellent energy school at the high level, which was significant at the .01 level; and (4) the guidelines for promoting for the excellent energy school were as follows: the administrators should study the information continuously, they should accept the change; and they should raise awareness and build morale for all personnel in the area of energy and environmental conversationen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม22.74 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons