Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11511
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorบังอร ดำด้วงโรม, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-02-19T08:04:18Z-
dc.date.available2024-02-19T08:04:18Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11511-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพช่างอุตสาหกรรมของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดยใช้การสืบเสาะ 7E เป็นฐานกับของนักเรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบ เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด สะเต็มศึกษาโดยใช้การสืบเสาะ 7E เป็นฐานกับของนักเรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขางานยานยนต์ วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 60 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม และจับสลากเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมจำนวนกลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพช่างอุตสาหกรรม ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดยใช้การสืบเสาะ 7E เป็นฐาน เรื่อง สมดุลวัตถุ การเคลื่อนที่แนวเส้นตรง และงานพลังงาน และ (2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติดังหัวข้อที่ได้กล่าวมาข้างต้น เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ (1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพช่างอุตสาหกรรม และ (2) แบบวัดเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพ ช่างอุตสาหกรรมของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีที่เรียนจากวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา โดยใช้การสืบเสาะ 7E เป็นฐาน สูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนจากวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฏร์ธานี ที่เรียนจากวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดยใช้การสืบเสาะ 7E เป็นฐาน สูงกว่าเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนจากวิธีการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้th_TH
dc.titleผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาโดยใช้การสืบเสาะ 7E เป็นฐานที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพช่างอุตสาหกรรม สำหรับนักเรียนประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of STEM education approach by basing on 7E inquiry on learning achievement and attitude towards Science in Science for Developing Industrial Technician Career Course of the 1st Year Vovational Certificate students at Surat Thani Technical College, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ศึกษา)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare learning achievement in the Science for Developing Industrial Technician Career Course of the first year Vocational Certificate students who learned through the learning management based on STEM education concept with the use of 7E inquiry approach as the basis with the counterpart learning achievement of the students who learned through the traditional learning management; and (2) to compare attitude towards science of the first year Vocational Certificate students who learned through the learning management based on STEM education concept with the use of 7E inquiry approach as the basis with the counterpart attitude of the students who learned through the traditional learning management. The research sample consisted of 60 first year Vocational Certificate students in the Automotive Mechanics Program of Surat Thani Technical College in Surat Thani province, obtained by cluster random sampling. Then, they were randomly assigned by taking lots into an experimental group and a control group each of which consisting of 30 students. The employed treatment instruments were (1) lesson plans on the topics of Balance of Materials, Linear Movement, and Energy Work in the Science for Developing Industrial Technician Career Course for the learning management based on STEM education concept with the use of 7E inquiry approach as the basis; and (2) lesson plans on the same topics as previously mentioned for the traditional learning management. The employed data collecting instruments were (1) a learning achievement test for the Science for Developing Industrial Technician Career Course; and (2) a scale to assess attitude towards science. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, and t-test. Research findings revealed that (1) the post-learning achievement in the Science for Developing Industrial Technician Career Course of the first year Vocational Certificate students of Surat Thani Technical College in Surat Thani province, who learned through the learning management based on STEM education concept with the use of 7E inquiry approach as the basis, was significantly higher than the counterpart post-learning achievement of the students who learned through the traditional learning management at the .05 level of statistical significance; and (2) the post-learning attitude towards science of the first year Vocational Certificate students of Surat Thani Technical College in Surat Thani province, who learned through the learning management based on STEM education concept with the use of 7E inquiry approach as the basis, was significantly higher than the counterpart post-learning attitude of the students who learned through the traditional learning management at the .05 level of statistical significanceen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม26.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons