Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11535
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญศรี พรหมมาพันธุ์ | th_TH |
dc.contributor.author | กุลวดี ด่าโอะ, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-02-20T03:30:10Z | - |
dc.date.available | 2024-02-20T03:30:10Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11535 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (2) ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 384 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ และแบบบันทึกคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความตรงค่าความเที่ยง ค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) แบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้นประกอบด้วยการให้เหตุผลแบบนิรนัย และแบบอุปนัย (2) แบบวัดความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ มีคุณภาพด้านความตรงมีค่าระหว่าง 0.60 -1.00 ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.96ค่าความยากอยู่ระหว่าง 0.21 0.62 และค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 - 0.45 ซึ่งแบบวัดมีคุณภาพตามเกณฑ์ที่กําหนด และ (3) ความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ มีความสัมพันธ์ระดับปานกลางในทิศทางเดียวกัน อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--วิทยาศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between scientific reasoning and science learning achievement of Prathom Suksa VI students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were (1) to construct a scale to assess scientific reasoning ability of Prathom Suksa VI students; (2) to verify quality of the constructed scale to assess scientific reasoning ability of Prathom Suksa VI students; and (3) to study the relationship between scientific reasoning ability and science learning achievement of Prathom Suksa VI students. The research sample consisted of 384 Prathom Suksa VI students in schools under the Office of the Basic Education Commission, obtained by stratified random sampling. The employed research instruments were a scale to assess scientific reasoning ability, a science learning achievement recording form. Statistics employed for data analysis were the validity index, reliability coefficient, difficulty index, discriminating index, and Pearson’s correlation coefficient. Research findings revealed that (1) the constructed scale to assess scientific reasoning ability comprised deductive reasoning and inductive reasoning; (2) regarding quality of the constructed scale to assess scientific reasoning ability, its validity indices ranged from 0.60 to 1.00; its reliability coefficient was 0.96; its difficulty indices ranged from 0.21 to 0.62; and its discriminating indices ranged from 0.20 to 0.45; so, the constructed scale had quality that met the quality criteria; and (3) the students’ scientific reasoning ability and their science learning achievement correlated positively at the moderate level and significantly at the .01 level | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ลาวัลย์ รักสัตย์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
165540.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License