Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11865
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ตะวัน เดชภิรัตนมงคล | th_TH |
dc.contributor.author | พัณนิดา สมบูรณ์, 2516- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-04-11T07:23:19Z | - |
dc.date.available | 2024-04-11T07:23:19Z | - |
dc.date.issued | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11865 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการคุ้มครองพยานในคดีอาญา (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองพยานในคดีอาญาตามความตกลงระหว่างประเทศ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายไทย (3) วิเคราะห์เปรียบเทียบมาตรการกฎหมายเกี่ยวกับการคุ้มครองพยานในคดีอาญาตามความตกลงระหว่างประเทศ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายไทย และ (4) เสนอแนวทางการจัดทำมาตรฐานกลางเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพยานให้แก่หน่วยงานที่มีภารกิจในการคุ้มครองพยาน สามารถนำไปใช้ปฏิบัติเป็นมาตรฐานเดียวกัน การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้เทคนิคการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) โดยการศึกษาจากกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ตำรากฎหมายวิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ บทความ วารสารทางวิชาการ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยการรวบรวม ศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับแนวทางการปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพยาน ตามกฎหมายไทย และต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า (1) แนวคิดเกี่ยวกับการคุ้มครองพยานในคดีอาญาเป็นพื้นฐานสำคัญในการกำหนดมาตรการที่เหมาะสมต่อพยาน (2) อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร ค.ศ. 2000 กำหนดให้รัฐภาคีใช้มาตรการคุ้มครองพยานที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพตามแนวทางที่กำหนดไว้ ส่วนสหพันธ์รัฐเยอรมนีและสหรัฐอเมริกามีกฎหมายรองรับการคุ้มครองพยานไว้ชัดเจน ขณะที่ประเทศไทยไม่มีบทบัญญัติกฎหมายและแนวปฏิบัติ (3) อนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่จัดตั้งในลักษณะองค์กร ค.ศ. 2000 กำหนดให้รัฐภาคีใช้มาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองพยานในคดีอาญาอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสหรัฐอเมริกาที่ได้มีการกำหนดไว้ในกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ให้อัยการสูงสุดเป็นผู้มีอำนาจออกระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติต่อพยาน ทั้งการใช้มาตรการในการจัดย้ายที่อยู่ และจัดให้มีเจ้าหน้าที่คุ้มครอง เมื่อเห็นว่าพยานและครอบครัวอาจได้รับอันตราย ส่วนสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ไม่มีกฎหมายเฉพาะเช่นเดียวกับประเทศไทย แต่สหพันธ์รัฐเยอรมนีอาศัยกฎหมายตำรวจ ที่กำหนดหน้าที่ของเจ้าหน้าที่คุ้มครองพยานจะต้องปฏิบัติต่อพยานเป็นการเฉพาะ ขณะที่ประเทศไทย นอกจากไม่มีบทบัญญัติกฎหมายแล้ว ยังไม่มีแนวปฏิบัติที่ชัดเจน (4) จึงควรออกระเบียบกระทรวงยุติธรรมว่าด้วยแนวทางการปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพยานในคดีอาญา พ.ศ. .... โดยกำหนดบททั่วไปว่าด้วยการปฏิบัติต่อพยาน การปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพยานในกระบวนการยื่นคำร้องขอคุ้มครองความปลอดภัย และกระบวนการที่อยู่ระหว่างการคุ้มครองความปลอดภัย การติดตามและประเมินผลการดำเนินการคุ้มครองพยาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | พยานบุคคล--การคุ้มครอง--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม | th_TH |
dc.title | มาตรการคุ้มครองพยานในคดีอาญา ศึกษากรณี การปฏิบัติที่เหมาะสมต่อพยานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 | th_TH |
dc.title.alternative | Witness protection measures : a case study of fair treatment to witnesses according to witness protection act, B.E. 2546 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิติศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This independent research has objective has objectives in (1) studying concept of witness protection in criminal cases (2) studying legal measures regarding witness protection in criminal cases according to international law, international agreements, analysing and comparing legal measures of witness protection according to international law, international agreements and domestic laws and (4) proposing guideline for central standard regarding appropriate treatment to witness for agencies that have missions in protecting the witnesses for applying in the same standard. This independent study is qualitative research by which the researcher utilizes documentary research from related laws, legal hornbooks, theses, independent studies, articles, academic journals and digital media. At all events, the researcher collects, studies and analyzes the data related to the means of fair treatment to witness according to Thai and international law. This study finds that (1) concept of witness protection in criminal cases is an important foundation in determination of suitable witness measures (2) United Nations Convention against Transnational Organized Crime 2000 points out that signatories shall utilize suitable and effective witness protection measures according to the assigned means, at the same time, Federal Republic of Germany and the United States of America have the laws that substantiate witness protection clearly, while Thailand has no such legislation and regulation. (3) United Nations Convention against Transnational Organized Crime 2000 determines that the signatories shall enforce the suitable regulations for witness protection in criminal cases effectively in accordance with the United States which determines in Federal Rule of Criminal Procedure that the Attorney General is the entitled one to issue the related regulations of witness relocation and put bodyguards on, when witnesses and families seem to be in danger. Of Moreover, Germany, there is no such witness protection like that in Thailand, to do so, it utilizes the legislated police laws which define the roles of witness protection agents that must deal with witnesses particularly, while Thailand has not only lack of legislation but also lack of the exact practice. (4) Should issue the ministerial rules according to appropriate treatment to witnesses in criminal cases B.E. … by which it should have general principles of treatment to witnesses appropriate treatment to witnesses in requesting safeguard measures and procedure during safeguard period, follow up and evaluation of witness protection. | en_US |
Appears in Collections: | Law-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 14.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License