Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11881
Title: ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัด
Other Titles: Employee engagement of Samwha (Thailand) Company Limited
Authors: จีราภรณ์ สุธัมมสภา, อาจารย์ที่ปรึกษา
เรืองพร สรรพคุณ, 2517-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: ความผูกพันต่อองค์การ
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
Issue Date: 2557
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานบริษัทซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัด (2) ปัจจัยภายในองค์การที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพ นักงาน บริษัทซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัด (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในองค์การและความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัทซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัดวิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานบริษัทซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัด ณ วันที่ 31 เดือนตุลาคม 2557 ซึ่งมีจำนวนทั้งหมด 150 คน โดยศึกษาจากประชากรทั้งห มด เครื่องมือที่ใช้ในกรรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยประชากร ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสมพันธ์แบบเพียร์สันผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับความผูกพันต่อองค์การของพนักงาน บริษัทชัมวา (ไทยแลนด์)จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดย ด้านการคงอยู่กับองค์การมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด (1 = 3.3)รองลงมาคือ ค้านจิตใจและความผูกพันต่องาน (น = 3.20) และค้านการทุ่มเทความพยายามเพื่อองค์การมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด (ม = 3.1 8) (2) ปัจจัยภายในองค์การที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของบริษัทซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัด โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (I = 3.30) สามารถจัดเรียงตามลำคับจากมากไปน้อยได้ คังนี้ ปัจจัยค้นลักษณะงาน (l = 4.01) ปัจจัยค้านความเป็นประชาธิปไตยในการทำงาน (1 = 3.50) ค้านสภาพแวคล้อมในการทำงาน (1l = 3.36) ด้านสัมพันธ์ภาพในองค์การ (น = 3.32) ด้าน โอกาสก้าวหน้าและการพัฒนาความสามารถ (น = 3.21) ด้านความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว (1 = 3.20) และด้านค่าดอบแทนและสวัสดิการ (U= 3.19) (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายในองค์การและความผูกพันต่อองค์การ ของพนักงานบริษัทซัมวา (ไทยแลนด์) จำกัด โดยรวมอยู่ในระดับสูงมากในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่า สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (3=0.910)
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11881
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
145395.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons