Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11980
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีย์ เข็มทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมฤดี ช่วยบำรุง, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2024-04-19T08:42:30Z-
dc.date.available2024-04-19T08:42:30Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/11980-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าโอทอปของนักท่องเที่ยว(2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดต่อการเลือกซื้อสินค้าโอทอปของนักท่องเที่ยว และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกบพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าโอทอปของนักท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรี ประชากรคือ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาศูนย์โอทอปคอมเพล็กซ์ จังหวัดสระบุรี จ านวน 60,000 ราย ณ เดือนมิถุนายน 2560ขนาดกลุ่มตัวอยางค านวณโดยสูตรของทาโรยามาเน่ ได้ 334 คน เลือกตัวอย่างตามสะดวกหลังจากที่ชำเงินแล้ว โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ ค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าโอทอปของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เลือกซื้อสินค้าประเภทอาหารมากที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นของฝาก/ของที่ระลึก ตัดสินใจ เลือกซื้อสินค้าด้วยตนเอง ช่วงเวลาที่เลือกซื้อคือ วันเสาร์-อาทิตย์ มีลักษณะการเลือกซื้อสินค้าแบบ ซื้อทันทีที่เห็นสินค้า ความถี่ในการเลือกซื้อน้อยกวาเดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า แต่ละครั้งระหว่าง 301-600 บาท (2) ระดับความสำคัญของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดต่อการเลือกซื้อสินค้าโอทอปโดยรวมและรายปัจจัยพบว่า อยูในระดับมาก และ (3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดกบพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าโอทอปพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมด้านประเภทสินค้า วัตถุประสงค์ ลักษณะ และช่วงเวลาในการเลือกซื้อสินค้าโอทอป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดทั้ง 4 ปัจจัย มีผลต่อพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวเกี่ยวกับการเลือกประเภทสินค้า วัตถุประสงค์ และช่วงเวลาในการเลือกซื้อสินค้าโอทอป อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสินค้าไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าโอทอปของนักท่องเที่ยว จังหวัดสระบุรีth_TH
dc.title.alternativeTourist behavior on buying the OTOP in Saraburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study: (1) shopping behavior of OTOP tourists (2) the level of importance of marketing mix factors on OTOP choice of tourists; and (3) the relationship between the marketing mix, the buying behavior of tourists OTOP products Saraburi. The population is a Thai tourist who travels to the OTOP Complex in Saraburi province. The sample size was calculated by Yamane formula. 334 samples were taken after payment. Data analysis consists of: frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test, F-test, and Chi-square test. The results of the study revealed that: (1) the most shopping behavior of OTOP tourists bought food items most. The purpose was as souvenirs. By making a purchase manually. The time of purchase was Saturday-Sunday in most of the time. Tourists had the option to buy the product immediately. The frequency of purchase is less than once a month. The purchase cost was 301-600 Baht (2) the level of the importance of marketing mix to overall OTOP and individual factors was at high; and (3) the relationship between marketing mix and shopping behavior of OTOP tourists found that the personal factors of consumers were age, education level, occupation, income had a statistically significant relationship with product type, purpose, nature and time of OTOP purchase at the 0.05 level. The marketing mix factors affected the behavior of tourists regarding the choice of product type, purpose and time to buy OTOP products with statistically significant at the 0.05 level.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158830.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons