Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐพงศ์ ลาภบุญทรัพย์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-05-23T03:52:23Z-
dc.date.available2024-05-23T03:52:23Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12011-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาจริยศาสตร์การสื่อสารในวรรณคดี คำสอนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น และ (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจริยศาสตร์การสื่อสาร ในวรรณคดีคำสอนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นกับแนวคิดด้านการสื่อสารในปัจจุบัน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับการสื่อสารภายในบุคคล การสื่อสารระหว่างบุคคล และการสื่อสารกลุ่มเล็ก เป็นแนวทางการวิเคราะห์และเปรียบเทียบศึกษา กับ จริยศาสตร์การสื่อสารที่ปรากฏอยู่ในวรรณคดีคำสอนในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น 4 เรื่อง คือเรื่องกฤษณาสอนน้องคำฉันท์ พระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส เรื่องสวัสดิรักษา เรื่องเพลงยาวถวายโอวาท บทประพันธ์ของพระสุนทรโวหาร (ภู่) และโคลงโลก- นิติ ฉบับสมเด็จฯ กรมพระยาเดชาดิศรทรงชำระ เหตุที่มีการเลือกใช้วรรณคดีทั้ง 4 เรื่องใน การศึกษานั้น เป็นเพราะเป็นวรรณคดีที่ทราบประวัติความเป็นมาได้ชัด สามารถอ่านเข้าใจได้ง่าย เป็นที่นิยม และเป็นตัวแทนที่แสดงให้เห็นถึงลักษณะคำสอนในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นอย่าง ตรงไปตรงมา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวิเคราะห์เนื้อหา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการ วิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) วรรณคดีคำสอนในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นที่เลือกมาศึกษา นั้น ปรากฏจริยศาสตร์การสื่อสารระหว่างบุคคล โดยเฉพาะการพูดมากที่สุด โดยปรากฏอยู่ใน วรรณคดีคำสอนทุกเรื่อง รองลงมาคือจริยศาสตร์การสื่อสารภายในบุคคล โดยพบอยู่ในสวัสดิรักษา และโคลงโลกนิติ และที่พบน้อยที่สุดคือจริยศาสตร์การสื่อสารกลุ่มเล็ก พบในโคลงโลกนิติเพียง เรื่องเดียว และ (2) จริยศาสตร์การสื่อสารที่ถูกกล่าวถึงในวรรณคดีคำสอนที่เลือกศึกษานั้น โดยมาก มีความสัมพันธ์กับแนวคิดดังกล่าวในปัจจุบัน ได้แก่ การสื่อสารภายในตนเอง การพูด การฟัง และ การมีปฏิสัมพันธ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการสื่อสารในวรรณกรรมth_TH
dc.subjectวรรณคดีกับศีลธรรมจรรยาth_TH
dc.titleจริยศาสตร์การสื่อสารที่ปรากฏในวรรณคดีคำสอนสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นth_TH
dc.title.alternativeCommunication ethics in Early Rattanakosin Era Thai Didactic Literatureth_TH
dc.typeOtherth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study communication ethics in early Rattanakosin Era didactic literature; and (2) to study the relationship between communication ethics in early Rattanakosin Era didactic literature and communication concepts in present day. This was a qualitative research. The theories of intrapersonal communication, interpersonal communication and small group communication were used as the conceptual framework to analyze communication ethics in 4 works of didactic literature from the Early Rattanakosin Era: "Krisana Teaches Her Sister" (Krisana Son Nong) by The Venerable Somdej Phramahasamanachao Kromphraboramanuchit Chinoros, "Sawasdiraksa" and "Poem for the Princes" (Pleng Yao Tawai Ohwat) by Phra Sunthorn Vohara (known as Sunthorn Phu), and "Klohng Lok Niti" by Prince Phra-ong Chao Kromphraya Dejadisorn. These 4 works were selected for analysis because they have clearly traced histories, are easy to understand, were popular, and are straight forward examples of moral teachings from the Early Rattanakosin Era. A content analysis form was used to collect data and the descriptive analysis method was used to analyze the data. The results showed that (1) in the 4 literary works studied, interpersonal communication ethics, especially talking, was the most common form of communication ethics, which was found in every work of didactic literature studied. The second most common form of communication ethics was intrapersonal communication ethics, which was found in "Sawasdiraksa" and "Klohng Lok Niti." The least common form of communication ethics was small group communication ethics, which was only found in "Klohng Lok Niti." (2) Communication ethics cited in the didactic literature studied was mostly related to present day communication concepts, i.e. intrapersonal communication, talking, listening and interactionen_US
Appears in Collections:Comm-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146918.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons