Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12048
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมณฑิชา พุทซาคำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรินธร มณีรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorณัฐพล เศษวงศ์, 2535--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-05-27T08:00:06Z-
dc.date.available2024-05-27T08:00:06Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12048-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของระยะเวลาการเก็บรักษาไข่ฟักและอายุไก่ปู่ย่าพันธุ์เนื้อต่อ 1)ประสิทธิภาพการฟัก และ 2) คุณภาพลูกไก่ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลอง จัดการทดลองแบบ 4x3 แฟคทอเรียล ใช้แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในกลุ่มมีปัจจัยที่ศึกษาจำนวน 2 ปัจจัย คือ ปัจจัยที่ 1 ระยะเวลาการเก็บไข่ฟัก 7, 14,21 และ 28 วันและปัจจัยที่ 2 อายุไก่ปู่ย่าพันธุ์เนื้อ 30, 40 และ 50 สัปดาห์ โดยใช้โรงเรือนเลี้ยงไก่ระบบปิดจำนวน 2 โรงเรือน (บล็อก) ในการทดลองใช้ไข่ฟักทดลองจำนวน 6,048 ฟองต่อโรงเรือน โดยมีทรีตเมนต์ผสมทั้งหมด 12 ทรีตเมนต์ผสมแต่ละทรีตเมนต์ผสมมี 3 ซ้ำ ๆ ละ 168 ฟอง ทำการวิเคราะห์ความแปรปรวนของข้อมูลและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มทดลอง โดยใช้วิธี Duncan's New Multiple Range Test ผลจากการศึกษาพบว่า 1) ด้านประสิทธิภาพการฟักระยะเวลาการเก็บไข่ฟัก 7 วัน มีเปอร์เซ็นต์การฟักออกจากไข่เข้าฟักทั้งหมดสูงที่สุดมีอัตราการตายของตัวอ่อนระยะแรกเปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำหนักไข่ฟักระหว่างการเก็บและระหว่างการฟักต่ำที่สุด (p-0.05) ในขณะที่ไข่ฟักจากไก่ปู่ย่าพันธุ์เนื้ออายุ 30 และ 40 สัปดาห์ มีเปอร์เซ็นต์ ไข่ฟักมีเชื้อและเปอร์เซ็นต์การฟักออกจากไข่เข้าฟักทั้งหมดสูงที่สุด (p<0.05) ส่วนไข่ฟักจากไก่ปู่ย่าพันธุ์เนื้ออายุ 50 สัปดาห์ มีน้ำหนักไข่ฟักก่อนเข้าฟักและเปอร์เซ็นต์ไข่ฟักไม่มีเชื้อสูงที่สุดและมีอัตราการตายของตัวอ่อนระยะแรกเปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำหนักไข่ฟักระหว่างการเก็บและระหว่างการฟักต่ำที่สุด (p-0.05) 2) ด้านคุณภาพลูกไก่ พบว่าระยะเวลาการเก็บไข่ฟัก 7 วัน มีคะแนน Pasgar Score สูงที่สุดระยะเวลาการเก็บไข่ฟัก 14 วันมีความยาวลูกไก่เฉลี่ยสูงที่สุดและระยะเวลาการเก็บไข่ฟัก 28 วันมีน้ำหนักลูกไก่แรกเกิดเปอร์เซ็นต์น้ำหนักลูกไก่แรกเกิดเมื่อเทียบกับน้ำหนักไข่ฟักก่อนเข้าฟักสูงที่สุด (p<0.05) ในขณะที่ไข่ฟักจากไก่ปู่ย่า-พันธุ์เนื้ออายุ 30 สัปดาห์ มีคะแนน Pasgar Score สูงที่สุด ไข่ฟักจากไก่ปู่ย่าพันธุ์เนื้ออายุ 50 สัปดาห์ มีน้ำหนักลูกไก่แรกเกิดเปอร์เซ็นต์น้ำหนักลูกไก่แรกเกิดเมื่อเทียบกับน้ำหนักไข่ฟักก่อนเข้าฟักและความยาวลูกไก่เฉลี่ยสูงที่สุด (p<0.05) จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า (1) ระยะเวลาการเก็บไข่ฟักก่อนเข้าฟัก 7 วัน มีประสิทธิภาพการฟักและคุณภาพลูกไก่สูงที่สุด (2) ไข่ฟักจากไก่ปู่ย่าพันธุ์เนื้อไข่ฟักอายุ 30 และ 40 สัปดาห์ มีประสิทธิภาพการฟักสูงที่สุดในขณะที่ไข่ฟักจากไก่ปู่ย่าพันธุ์เนื้ออายุ 50 สัปดาห์ มีคุณภาพลูกไก่สูงที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectไข่--การฟักth_TH
dc.subjectไข่--การเก็บและรักษาth_TH
dc.titleผลของระยะเวลาการเก็บรักษาไข่ฟักและอายุของไก่ปู่ย่าพันธุ์เนื้อ ต่อประสิทธิภาพการฟักและคุณภาพลูกไก่th_TH
dc.title.alternativeEffect of egg storage periods and broiler grandparent stock age on hatching performance and chick qualityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการทรัพยากรเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the effect of egg storage periods and broiler grandparent stock age on 1) hatching performance and 2) chick quality. The design for this study was experimental research. The experiment was conducted in a 4x3 factorial in RCBD with four egg storage periods (7, 14, 21 and 28 days) and three broiler grandparent stock age (30, 40 and 50 weeks of age), using two houses in a closed system (blocks). A total number of 6,048 eggs per house were collected from broiler grandparent stock. There were 12 treatment combinations and each treatment combination contained 3 replicates with 168 eggs per replicate. All data were analyzed statistically by ANOVA. The differences among means were compared by Duncan's New Multiple Range Test. The results showed that, 1) in terms of hatching performance, egg storage periods of 7 days had the highest hatchability of the total egg set and, in terms of early embryonic mortality, the egg weight loss percentage during storage and incubation had the lowest values (p<0.05). On the other hand, the eggs from broiler grandparent stock at 30 and 40 weeks of age had the highest fertile eggs percentage and hatchability of the total egg set (p<0.05). The eggs from broiler grandparent stock at 50 weeks of age had the highest initial egg weight and infertile eggs percentage, early embryonic mortality, egg weight loss percentage during storage and incubation had the lowest (p<0.05). 2) For the chick quality, egg storage periods of 7 days had the highest Pasgar Score (p<0.05). Egg storage periods of 14 days had the highest chick length and egg storage periods of 28 days had the highest chick weight and chick yield percentage (p<0.05). Additionally, the eggs from broiler grandparent stock at 30 weeks of age had the highest Pasgar Score (p<0.05). The eggs from broiler grandparent stock at 50 weeks of age had the highest chick weight, chick yield percentage and chick length (p<0.05). In conclusion, (1) Egg storage periods of 7 days had the highest hatching performance and chick quality. (2) The eggs from broiler grandparent stock at 30 and 40 weeks of age had the highest hatching performance. Whereas the eggs from broiler grandparent stock at 50 weeks of age had the highest chick qualityen_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม30.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons