Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12231
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจินต์ วิศวธีรานนท์th_TH
dc.contributor.advisorทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์th_TH
dc.contributor.authorอัญชนา ภาษิต-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-06-18T06:30:01Z-
dc.date.available2024-06-18T06:30:01Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12231-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพปัจจุบันเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน (2) ปัญหาเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน และ (3) ความต้องการเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า (1) ครูผู้สอนส่วนใหญ่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียนจากการประชุมชี้แจง/อบรมที่โรงเรียนจัดขึ้น สาเหตุที่ทำวิจัยในชั้นเรียนเพราะต้องการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน โดยเลือกหัวข้อวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาด้านวิชาการ ซึ่งวิเคราะห์สภาพปัญหาจากรายงานสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นรายห้อง และพิจารณาเลือก/กำหนดปัญหาการทำวิจัยในชั้นเรียนที่แก้ปัญหา/พัฒนาที่เน้นการเรียนการสอน โดยวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาด้วยการสังเกตจากพฤติกรรมที่ปฏิบัติ มีการศึกษาข้อมูลเพื่อการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยการค้นคว้าจากงานวิจัย นวัตกรรมที่นำมาใช้ส่วนใหญ่ คือ แบบฝึกหัด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการทดสอบ เครื่องมือที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นเองโดยมีการตรวจสอบคุณภาพ ส่วนใหญ่ใช้ค่าร้อยละในการวิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยตารางประกอบคำบรรยาย และเขียนรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนเป็นรายงานวิจัยแบบแผ่นเดียว เผยแพร่ผลงานวิจัยในชั้นเรียนโดยจัดพิมพ์เป็นรายงานวิจัย และมีนักเรียนเป็นผู้สะท้อน ผลการวิจัย มีการนำผลการวิจัยในชั้นเรียนไปใช้แก้ไขปัญหา/พัฒนานักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มการส่งเสริมและสนับสนุนการทำวิจัยในชั้นเรียนจากโรงเรียนต้นสังกัดส่วนใหญ่ เป็นการให้โอกาสในการเข้าประชุมและสัมมนาวิชาการ (2) ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มีปัญหาเกี่ยวกับการทำวิจัยในชั้นเรียนโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับ "เป็นปัญหาอยู่บ้างเล็กน้อย" และ (3) ครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ มีความต้องการการสนับสนุนในการทำวิจัยในชั้นเรียนจากผู้บริหารมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.370-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectชั้นเรียนth_TH
dc.subjectครูวิทยาศาสตร์th_TH
dc.titleสภาพปัจจุบัน ปัญหา และความต้องการเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียนของครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2th_TH
dc.title.alternativeThe present condition, problems and needs for classroom action research of science teachers in secondary schools in Bangkok Educational Service Area 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.370-
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons