Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12385
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมาน กฤตพลวิมานth_TH
dc.contributor.authorธนพงศ์ ภูผาลีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-07-01T04:14:26Z-
dc.date.available2024-07-01T04:14:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12385en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎี หลักการ และมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (2) ศึกษามาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในประเทศไทยและต่างประเทศ (3) วิเคราะห์ปัญหากฎหมายในการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (4) เสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาทางกฎหมายในการควบคุมโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร ผลการวิจัยพบว่า (1) การควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอยู่ภายใต้พระราชบัญญัติอาหารพ.ศ. 2522 (2) มาตรการในการควบคุมการโฆษณาอาหาร คือ ห้ามโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารอันเป็นเท็จหรือหลอกลวงให้หลงเชื่อโดยไม่สมควร และผู้ใดประสงค์จะโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพหรือสรรพคุณอาหารจะต้องนำเสียง ภาพ ภาพยนตร์หรือข้อความที่จะโฆษณาให้ผู้อนุญาตตรวจพิจารณาก่อนเมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงจะโฆษณาได้ (3) ปัญหาของมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในประเทศไทย ยังมีความไม่ชัดเจนในการตีความของบทบัญญัติในมาตรา 40 ของพระราชบัญญัติอาหารพ.ศ. 2522 ที่ห้ามการโฆษณาคุณประโยชน์ คุณภาพ หรือสรรพคุณของอาหารอันเป็นเท็จหรือหลอกลวงให้หลงเชื่อโดยไม่สมควร ปัญหาโฆษณาเกินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2020.14en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectโฆษณา--ไทย--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectอาหารเสริมth_TH
dc.subjectกฎหมายโฆษณาth_TH
dc.titleมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการโฆษณาผลิตภัณฑ์เสริมอาหารth_TH
dc.title.alternativeLegal Measures of Dietary Supplements Advertising Regulationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2020.14-
dc.identifier.urlhttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2020.14en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are ( 1) to study the background, concepts, theories, principles, and legal measures of the regulation concerning dietary supplement advertising, (2) to examine the measures in the regulation of dietary supplement and herbal product advertising in Thailand and other countries, ( 3) to analyze the problems of the dietary supplements advertising regulation, and ( 4) to suggest guidelines to solve the problems of the dietary supplement advertising regulation. This qualitative study was conducted based on documentary research into the provisions of laws, textbooks, articles, academic papers, theses, and other Internet sources, in both Thai and English. The results revealed the following: (1) dietary supplements are regulated under the Food Act B.E. 2522; (2) legal measures for dietary supplements include the provision stating that an dvertisement of false quality, usefulness or indication of food or that is deceptive shall not made, and whoever wishes to make an advertisement of qualien_US
dc.contributor.coadvisorจิตตศุภางค์ ตันติภิรมย์th_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.28 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons