Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12387
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนรัชฏ์ ศิริสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorอิศเรศ สุขชมth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-07-01T07:16:40Z-
dc.date.available2024-07-01T07:16:40Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12387en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564.th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถการอ่านจับใจความระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางเป็นสื่อร่วมกับเกมมิฟิเคชั่นที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ (2) เปรียบเทียบความสามารถการเขียนเชิงสร้างสรรค์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางเป็นสื่อร่วมกับเกมมิฟิเคชั่นที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถการอ่านจับใจความกับความสามารถการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยการใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางเป็นสื่อร่วมกับเกมมิฟิเคชั่นที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ผลการวิจัย พบว่า (1) ความสามารถอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียน โดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางเป็นสื่อร่วมกับเกมมิฟิเคชั่นที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความและการเขียนเชิงสร้างสรรค์สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางเป็นสื่อร่วมกับเกมมิฟิเคชั่นที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ (3) ความสามารถการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางเป็นสื่อร่วมกับเกมมิฟิเคชั่นที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์กับความสามารถการเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยมีความสัมพันธ์เชิงบวก (r = .647 ** ) และมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectสื่อการสอนth_TH
dc.subjectนิทาน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectการอ่านจับใจความth_TH
dc.subjectการเขียน--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.titleผลการสอนโดยใช้นิทานพื้นบ้านภาคกลางเป็นสื่อร่วมกับเกมมิฟิเคชั่น ที่มีต่อความสามารถในการอ่านจับใจความและการเขียนเชิงสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์th_TH
dc.title.alternativeThe effects of using Central Region folktales together with gamification on Thai reading comprehension ability and creative writing ability of grade 6 students at Ongkharak Demonstration School, Srinakharinwirot Universityen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare reading comprehension ability of grade 6 students before and after learning with the use of Central Region folktales together with gamification to develop reading comprehension ability and creative writing ability; (2) to compare creative writing ability of grade 6 students before and after learning with the use of Central Region folktales together with gamification to develop reading comprehension ability and creative writing ability; and (3) to study the relationship of reading comprehension ability with creative writing ability of grade 6 students who learned with the use of Central Region folktales together with gamification to develop reading comprehension ability and creative writing ability. The research sample consisted of 30 grade 6 students at Ongkharak Demonstration School, Srinakharinwirot University, obtained by cluster sampling. The employed research instruments were learning management plans to develop reading comprehension ability and creative writing ability for the instruction using Central Region folktales together with gamification, a learning achievement test on reading comprehension ability, and a learning achievement test on creative writing ability. Statistics employed for data analysis were the mean, standard deviation, t-test, and Pearson correlation coefficient. The research findings were as follows: (1) the post-learning reading comprehension ability of grade 6 students who learned from the instruction using Central Region folktales together with gamification to develop reading comprehension ability and creative writing ability was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .01 level of statistical significance; (2) the post-learning creative writing ability of grade 6 students who learned from the instruction using Central Region folktales together with gamification to develop reading comprehension ability and creative writing ability was significantly higher than their pre-learning counterpart ability at the .01 level of statistical significance; and (3) the reading comprehension ability of grade 6 students learning from the instruction using Central Region folktales together with gamification to develop reading comprehension ability and creative writing ability correlated positively with their creative writing ability (r = .647***), which was significant at the .01 level of statistical significanceen_US
dc.contributor.coadvisorศศิธร กาญจนสุวรรณth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม40.16 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons