Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12416
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กล้า ทองขาว | th_TH |
dc.contributor.author | นิตยา เคลือบวัง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-04T06:43:42Z | - |
dc.date.available | 2024-07-04T06:43:42Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12416 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา ขึ้นพื้นฐานด้านการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 (2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 จำแนกตาม ประเภทของคณะกรรมการและขนาดของสถานศึกษา (3) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า (1) บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการบริหารงาน วิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อม และ ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น คณะกรรมการมีบทบาทในระดับมาก ส่วนด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ด้านหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการจัดแหล่งเรียนรู้ และ ด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ คณะกรรมการมีบทบาทอยู่ในระดับปานกลาง (2) คณะกรรมการต่างประเภทกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการบริหารงานวิชาการในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตามขนาดของสถานศึกษาพบว่าในภาพรวมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานศึกษาขนาดต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (3) ปัญหาคณะกรรมการขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกับบทบาทหน้าที่ของตนเอง และขาดงบประมาณจากชุมชนที่จะมาสนับสนุนการดำเนินงานของสถานศึกษา ข้อเสนอแนะที่สำคัญเกี่ยวกับบทบาทด้านการบริหารงานวิชาการคือ ควรมีการประชุม สัมมนา เพิ่มพูนความรู้ในบทบาทหน้าที่ และภารกิจของสถานศึกษาให้แก่คณะกรรมการและรัฐควรจัดสรรงบประมาณให้กับสถานศึกษาที่ไม่สามารถหารายได้เพิ่มเติมให้มากขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาขั้นพื้นฐาน | th_TH |
dc.title | บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการบริหารงานวิชาการ ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตาก เขต 2 | th_TH |
dc.title.alternative | The roles of education school board members in academic affairs administrative function in schools under the Office of Tak Educational Service Area 2 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.contributor.coadvisor | ประเสริฐ งามพันธุ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License