Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12500
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เปรมฤทัย น้อยหมื่นไวย | th_TH |
dc.contributor.author | ดาวเรือง บุญจันทร์ | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-07-12T04:25:42Z | - |
dc.date.available | 2024-07-12T04:25:42Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12500 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน และอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ที่ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเตือน ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ (2) เปรียบเทียบอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน และอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด กลุ่มก่อนและกลุ่มหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเตือน และ (3) ศึกษาความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อแนวปฏิบัติการพยาบาลกลุ่มตัวอย่างได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วย 2 กลุ่ม คือ (1) ผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดกลุ่มก่อนและกลุ่มหลังมีการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเตือน กลุ่มละ 30 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน และ(2) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่ายอายุรกรรมหญิง ที่ให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเดือนในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด และแบบสอบถามความพึงพอใจ แนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเตือนมีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.97 และค่าความสอดคล้องภายใน เท่ากับ 0.90 ส่วนแบบสอบถามความพึงพอใจมีค่าดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.87และค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัต เท่ากับ 0.86 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแคว์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเตือนในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดมีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 26.7 และไม่มีอัตราการเสียชีวิต (2) ผู้ป่วยก่อนมีการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเตือนมีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนสูงกว่าผู้ป่วยหลังมีการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเดือนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิ (p < .01) และ (3) ความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพต่อแนวปฏิบัติการพยาบาลทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | การพยาบาลอายุรศาสตร์ | th_TH |
dc.title | ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลการใช้แบบบันทึกสัญญาณเตือนในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสเลือดในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเพชรบูรณ์ | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of using nursing practice guidelines based on "modified early warning scores" for Patients with Sepsis in the Medical Department at Phetchabun Hospital | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this quasi-experimental research were: (1) to study complication rates and mortality rates of patients with sepsis after using nursing practice guidelines based on the Modified Early Warning Scores (MEWS) at the Medical Department at Phetchabun Hospital., (2) to compare the complication rates and the mortality rates of patients with sepsis between before and after using nursing practice guidelines based on the MEWS, and (3) to explore the satisfaction of professional nurses with using nursing practice guidelines The purposive sample was composed of two groups: 60 patients with sepsis and 20 nurses. The first group included 30 patients with sepsis before using nursing practice guidelines based on the MEWS and the other 30 patients with sepsis after using nursing practice guidelines based on the MEWS. The second group comprised 20 nurses who used nursing practice guidelines based on the MEWS. Research tools included nursing practice guidelinesbased on the MEWS for patients with sepsis and the nurse’s satisfaction questionnaires. The content validity index and the inter-rater reliability of the nursing practice guidelines were 0.97 and 0.90 respectively. The content validity index and Cronbach’s alpha reliability of the nurse’s satisfaction questionnaires were 0.87 and 0.86 respectively. Statistical techniques utilized in data analysis were percentage, mean, standard deviation, and chi-square test. The major findings were as follows. (1) The complication rate of patients with sepsis after using nursing practice guidelines based on the MEWS was 26.7%, and the mortality rate of those patients was zero. (2) The complication rate of patients with sepsis before using nursing practice guidelines based on the MEWS was significantly higher than the complication rate of patients with sepsis after using nursing practice guidelines based on the MEWS (p < .01). Finally, (3) professional nurses rated their satisfaction on nursing practice guidelines based on the MEWS as a whole and each aspect at the high level. | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_140789.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License