Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12703
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์th_TH
dc.contributor.authorสุภมาศ จินาวัลย์, 2520-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2024-08-22T04:12:01Z-
dc.date.available2024-08-22T04:12:01Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12703en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับการจัดการศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา (2) เปรียบเทียบการจัดการศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาจำแนกตามขนาดของสถานศึกษา (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะการจัดการศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ จำนวน 167 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ การบริหารจัดการสถานศึกษา การพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ผลลัพธ์ความสำเร็จ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (2) ผลการเปรียบเทียบการจัดการศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดศรีสะเกษ จำแนกตามขนาดสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษาขนาดเล็กแตกต่างกับขนาดกลาง ขนาดใหญ่ และขนาดใหญ่พิเศษด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา การพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา และผลลัพธ์ความสำเร็จ สถานศึกษาขนาดกลางแตกต่างกับขนาดใหญ่ด้านการพัฒนาบุคลากร สถานศึกษาขนาดใหญ่แตกต่างกับขนาดใหญ่พิเศษด้านผลลัพธ์ความสำเร็จอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 (3) ปัญหาและข้อเสนอแนะพบว่า มีปัญหามากที่สุด คือ ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ และด้านผลลัพธ์ความสำเร็จ ข้อเสนอแนะให้สถานศึกษาขับเคลื่อนกิจกรรม/โครงการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโดยการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ผู้เรียน และประสานเครือข่ายชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการจัดการศึกษา--ไทย--ศรีสะเกษth_TH
dc.titleการจัดการศึกษาโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดศรีสะเกษth_TH
dc.title.alternativeEducational management based on the philosophy of sufficiency economy in schools under Si Sa Ket Provincial Office of the Non-formal and Informal Educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were (1) to study the level of educational management based on the philosophy of sufficiency economy in schools under Si Sa Ket Provincial Office of the Non-formal and Informal Education; (2)to compare educational management based on the philosophy of sufficiency economy in schools as classified by school size; and (3) to study problems and suggestions for educational management based on the philosophy of sufficiency economy in schools under Si Sa Ket Provincial Office of the Non- formal and Informal Education. The sample consisted of 167 teachers in schools under Si Sa Ket Provincial Office of the Non- formal and Informal Education, obtained by stratified random sampling based on school size. The employed research instruments were a questionnaire, with a reliability coefficient of .98, and an interview. The research data were analyzed using mean, standard deviation, one- way ANOVA, Scheffe’s method of pairwise comparison, and content analysis. The results of the study revealed that (1) the overall and each specific aspect of educational management based on the philosophy of sufficiency economy in schools were rated at the high level, which the specific aspects being ranked based on their rating means from high to low were as follows: school management, school personnel development, achieved outcomes, student development activities, curriculum and instruction; (2) the comparison results of educational management based on the philosophy of sufficiency economy in schools as classified by school size, indicated that the small sized schools significantly differed from the middle sized schools, the large sized schools and the extra-large sized schools in terms of the school management aspect, the educational personnel development aspect, and the achieved outcomes aspect; the medium sized schools significantly differed from the large schools in terms of the personnel development aspect; the large sized schools significantly differed from the extra-large schools in terms of the achieved outcomes aspect, which were significant at the .05 level; and (3) concerning problems and suggestions, the most problems were such as the curriculum and instruction aspect, and the achieved outcomes achievement; while suggestions for the schools were as follows: to drive activities/projects according to the philosophy of sufficiency economy through developing school personnel and students, and to coordinate community networks to participate in educational management using the philosophy of sufficiency economy.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
168940.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.51 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons