Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12737
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศริศักดิ์ สุนทรไชย | th_TH |
dc.contributor.author | อาณัติ ศรทอง | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-09-13T03:53:21Z | - |
dc.date.available | 2024-09-13T03:53:21Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12737 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำกากไขมันมาผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่งโดยการผสมกากไขมัน แกลบ และขี้เลื่อย ด้วยอัตราส่วนต่างๆ กัน และ(2) เพื่อศึกษาคุณสมบัติทางด้านเชื้อเพลิงอัดแท่ง การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลองโดยเก็บกากไขมันแบบทีละเท และเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง จากบ่อดักไขมันโรงแรมแกรนด์ฮาวเวิร์ดผสมกับแกลบ และขี้เลื่อยให้เข้ากัน โดยมีอัตราส่วนที่กำหนดคือ 50 : 30 : 20, 50 : 20 : 30 และ 50 : 25 : 25 จากนั้นนำไปอัดแท่ง เพื่อนำไปวิเคราะห์หาปริมาณความชื้น ปริมาณเถ้า ปริมาณสารระเหย ปริมาณคาร์บอนคงตัว ตามมาตรฐานASTM D 7582 และค่าความร้อนที่เกิดขึ้นตามมาตรฐาน ASTM D 5865 ในแต่ละสูตร วิเคราะห์ข้อมูลค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า (1) วัสดุทั้ง 3 ชนิดผสมกันในแต่ละสูตรสามารถอัดเป็นแท่งเชื้อเพลิงได้และมีความหนาแน่นใกล้เคียงกัน และ (2) เมื่อวิเคราะห์คุณสมบัติทางด้านเชื้อเพลิง อัตราส่วนผสมทั้ง 3 สูตรผ่านเกณฑ์คุณสมบัติของเสียอุตสาหกรรมที่สามารถนา มาแปรรูปเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่ง โดยส่วนอัตราผสมกากไขมัน ร้อยละ 50 แกลบ ร้อยละ 30% และขี้เลื่อย ร้อยละ 20 ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด คือ มีค่าความชื้น ร้อยละ 4.94 สารระเหย ร้อยละ 79.35 คาร์บอนคงตัว ร้อยละ 9.85 เถ้า ร้อยละ 5.86 และค่าความร้อนสูง 6131.94 กิโลแคลอรี/กิโลกรัม เชื้อเพลิงอัดแท่งนี้สามารถนา มาใช้งานจริงได้ แต่เหมาะกับงานด้านอุตสาหกรรมด้านเชื้อเพลิงมากกว่าเป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ตามบ้านเรือนหรือร้านอาหาร เนื่องจากมีกลิ่นที่แตกต่างจากถ่านปกติ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | th_TH |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ไขมัน--การใช้เชื้อเพลิง | th_TH |
dc.subject | แหล่งพลังงานทดแทน | th_TH |
dc.subject | การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ | th_TH |
dc.title | การนำกากไขมันจากบ่อดักไขมันมาผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง : กรณีศึกษาโรงแรมแกรนด์ฮาวเวิร์ด | th_TH |
dc.title.alternative | Using fat waste from grease traps for briquette production : a case study of Grand Howard Hotel | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were: (1) to study feasibility for utilizing fat waste in producing briquettes by combining fat waste, chaff, and sawdust at various ratios; and (2) to determine fuel properties of the briquette. This quasi-experimental research involved the collection of fat waste samples using the batch technique and purposive sampling method from grease traps at the Grand Howard Hotel in Bangkok. The fat waste was then blended with chaff and sawdust at three ratios: 50:30:20, 50:20:30, and 50:25:25. After that the mixtures were compressed into briquettes and then analyzed for humidity, ash content, volatile matter concentration, and fixed carbon content, according to the ASTM D7582 standard test method, and heating value with ASTM D5865, for each ratio. Data were analyzed to determine percentage, mean, and standard deviation, and analysis of variance. The results revealed that: (1) the three materials mixed in all three ratios could be used to produce briquettes with somewhat similar density; and (2) the fuel properties of briquettes using all the three ratios met the criteria of industrial waste application for briquette production. The briquette derived with the 50:30:20 mixing ratio of fat waste, chaff and sawdust yielded the best heating value of 6131.94 kcal/kg; and it contained 4.92% humidity, 79.35% volatile matter, 9.85% fixed carbon, and 5.86% ash. Thus, this briquette can be really used as fuel, especially in industrial settings rather than in households or restaurants since its smell is different from that of wood charcoal | en_US |
Appears in Collections: | Health-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_152081.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License