Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศริศักดิ์ สุนทรไชย, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวศินา จันทรศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุกัญญา บัวศรี, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-09-13T07:11:01Z-
dc.date.available2024-09-13T07:11:01Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12748-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.(การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2563th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์ระบบการจัดการโลจิสติกส์ของรถหาบเร่ (2) สำรวจสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารของรถหาบเร่ (3) ศึกษาความรู้ การรับรู้และพฤติกรรมด้านอาหารปลอดภัยของผู้จำหน่ายและผู้บริโภคที่เลือกซื้ออาหารจากรถหาบเร่ (4) พัฒนารูปแบบการจัดการระบบโลจิสติกส์แบบมีส่วนร่วมของรถหาบเร่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร และ (5) ศึกษาผลของรูปแบบการจัดการระบบระบบโลจิสติกส์ของรถหาบเร่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหารในชุมชนชาติพันธุ์ ตำบลเทอดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้จำหน่ายรถหาบเร่จำนวน 9 คน ภาคีเครือข่ายจำนวน 32 คนเลือกแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคจำนวน 405 คนสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์เชิงลึกเกี่ยวกับระบบโลจิสติกส์ของรถหาบเร่ 2) แบบสังเกตชนิดมีโครงสร้างเกี่ยวกับระบบโลจิสติกส์ของรถหาบเร่ 3) แบบทดสอบความรู้ แบบวัดการรับรู้ด้านอาหารปลอดภัย และพฤติกรรมการจำหน่ายอาหารสำหรับผู้จำหน่ายอาหารรถหาบเร่ 4) แบบทดสอบความรู้ แบบวัดการรับรู้ด้านอาหารปลอดภัย และพฤติกรรมด้านอาหารปลอดภัยสำหรับผู้บริโภค 5) แบบบันทึกผลการทดสอบความปลอดภัยของอาหาร 6) แบบประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของรถเร่ 7) ประเด็นสนทนากลุ่มในการจัดทำรูปแบบการจัดการระบบโลจิสติกส์ของรถหาบเร่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร และ 8) โปรแกรมแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพที่มีผลต่อการจัดการระบบระบบโลจิสติกส์ของรถหาบเร่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหารซึ่งมีค่าความเที่ยงระหว่าง 0.86-1.00 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า (1) ระบบการจัดการโลจิสติกส์ของรถหาบเร่เริ่มจากการเลือกซื้อ การบรรจุและคัดแยกประเภทอาหาร การจัดเรียงสินค้าบนยานพาหนะ การขนส่งอาหาร การเก็บรักษาอาหาร การคาดการณ์และถนอมอาหาร โลจิสติกส์ย้อนกลับยังไม่มีคุณภาพ ยานพาหนะไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของรถหาบเร่ (2) ความปลอดภัยด้านอาหารทั้งด้านกายภาพ เคมีและชีวภาพไม่ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 36.17) (3) ความรู้เกี่ยวกับอาหารปลอดภัยของผู้บริโภคและผู้จำหน่ายอยู่ในระดับปานกลาง การรับรู้ตามแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพอยู่ในระดับมาก ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการเลือกซื้ออาหารจากรถหาบเร่นาน ๆ ครั้ง ชนิดของอาหารที่เลือกซื้อมีการปนเปื้อนทั้งทางด้านเคมีและชีวภาพ (4) ภาคีเครือข่ายร่วมกันจัดรูปแบบการจัดการระบบโลจิสติกส์ของรถหาบเร่ และนำโปรแกรมแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพไปใช้ทั้งในผู้จำหน่ายและผู้บริโภคเป็นเวลา 6 สัปดาห์ และ (5) ระดับความรู้ และการรับรู้หลังเข้าร่วมโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <0.01 พฤติกรรมการเลือกซื้อและจำหน่ายอาหารปลอดภัยถูกต้องมากขึ้น แต่ความปลอดภัยด้านอาหารคือ สารเร่งเนื้อแดง สารโพลาร์ ปริมาณแบคทีเรียทั้งหมด และโคลิฟอร์มแบคทีเรียยังคงไม่ผ่านเกณฑ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectอาหาร--มาตรการความปลอดภัยth_TH
dc.subjectหาบเร่--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์th_TH
dc.titleการจัดการระบบโลจิสติกส์ของรถหาบเร่อย่างมีส่วนร่วมเพื่อความปลอดภัยด้านอาหารในชุมชนชาติพันธุ์ ตำบลเทอดไทย อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeThe participatory management of mobile vendor cart logistics system for food safety among ethnic communities in Thoet Thai Sub-district, Mae Fa Luang District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการระบบอาหารเพื่อโภชนาการ)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were : 1) to analyze the logistics management system of the mobile vendor cart; 2) to survey the food safety situation of the mobile vendor cart; 3) to study the knowledge, perception and food safety behavior among mobile vendor carts and consumers; 4) to develop participatory logistics system management model of mobile vendor carts on food safety; and 5) to study the effect of a logistics system management model of mobile vendor carts on food safety in ethnic communities, Therdthai Subdistrict, Maefaluang District, Chiangrai Province. The sample were purposive of 9 mobile vendor carts, and 32 stakeholders with 405 consumers by multi-stage sampling. Research instruments consisted of : 1) in-depth interview regarding the logistics system of the mobile vendor carts; 2) structured observation form of the logistics system; 3) questionnaires of knowledge, perception and behavior on food safety for the vendors; 4) questionnaires of knowledge, perception and behaviors on food safety for the consumers; 5) recording form for results of food safety test; 6) food sanitation standards assessment form for the mobile vendor carts; 7) group discussion issues for providing the model; and 8) Health Beliefs Program affecting the logistics system management for the mobile vendor carts on food safety. Reliability values of the instruments were 0.86-1.00. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and paired t-test. Research finding were found: (1) the mobile vendor cart logistics system started from procurement, packing, sorting, arranging food on the vehicles, transport, preservation, forecasts and reverse logistics supplier to consumers had no quality. The vehicles did not meet the food sanitation standard of mobile vendor carts; (2) physical, chemical, and biological of food safety did not meet the standard (36.17%); (3) the knowledge of food safety among the consumers and the vendors was at the moderate level, perception of health beliefs was at the high level. The consumers had infrequently purchasing behaviors from the carts. The type of food they chose had chemical and biological contamination; (4) stakeholders participated in management of mobile vendor cart logistics system and applied health belief program in 6 weeks among the consumers and the vendors; and (5) the knowledge and perception levels after attending the program were significantly higher than before at the <0.01 level. The behaviors of choosing to buy and distributing of food were more accurate. Food safety in terms of salbutamol, polar substance, total bacterial count, and coliform bacteria were still not pass the criteriaen_US
Appears in Collections:Hum-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม25.25 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons