Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12896
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ชูชาติ พ่วงสมจิตร์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วิภา ตุนาค, 2512- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-10-07T03:14:37Z | - |
dc.date.available | 2024-10-07T03:14:37Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12896 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความต้องการเปลี่ยนงานของพยาบาลวิชาชีพจากกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาลสู่กลุ่มภารกิจด้านบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี 2) ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนงาน และ 3) แนวทางการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนงาน การวิจัยแบบผสมวิธีนี้ มีกลุ่มที่ศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มที่ตอบแบบสอบถามเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาล ได้รับการคัดเลือกแบบสุ่มอย่างเป็นระบบ จำนวน 259 คน และ 2) กลุ่มที่ร่วมสนทนากลุ่ม เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ได้จากการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 2 ชุด คือ 1) แบบสอบถามการเปลี่ยนงานของพยาบาลวิชาชีพจากกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาลสู่กลุ่มภารกิจด้านบริการปฐมภูมิ และ 2) แนวทางการสนทนากลุ่ม แบบสอบถามผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาโดยมีค่าความตรงตามเนื้อหาอยู่ระหว่าง 0.60 -1.00 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) พยาบาลวิชาชีพมีความต้องการเปลี่ยนงานจากกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาลสู่กลุ่มภารกิจด้านบริการปฐมภูมิเพียงร้อยละ 18.53 โดยต้องการเปลี่ยนงานใน 3 ลักษณะ ได้แก่ เปลี่ยนไปกลุ่มงานการพยาบาลชุมชน เปลี่ยนไปแผนกอื่นในองค์กรเดียวกัน และเปลี่ยนไปทำงานใหม่นอกองค์กร 2) ปัจจัยสำคัญที่ทำให้เปลี่ยนงาน มี 3 ประการ ได้แก่ (1) การเปลี่ยนที่ทำงานใหม่ (ร้อยละ 85.42): ยังทำงานเป็นพยาบาล (2) ลักษณะงานพยาบาล (ร้อยละ 79.17): เป็นภาระงานหนักและเครียด (3) ความจำเป็นทางครอบครัว (ร้อยละ 68.75): มีภาระต้องรับผิดชอบครอบครัวหลายประการ และ 3) แนวทางการเตรียมความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนงานแบ่งเป็น 2 ด้าน ได้แก่ (1) ด้านองค์กร ได้แก่ (ก) สนับสนุนวิธีการบริหารงานชุมชน (ร้อยละ 77.08): ปรับระบบการบริการเป็นเชิงรุก (ข) จัดกรอบอัตรากำลังรองรับกับการเปลี่ยนแปลงให้ทันเวลา (ร้อยละ 75.00): วิเคราะห์ภาระงานและกรอบอัตรากำลัง และ (2) ด้านบุคคล ได้แก่ (ก) ได้รับประโยชน์จากการเปลี่ยนงาน (ร้อยละ 85.42): วางแผนความก้าวหน้าในงาน ค่าตอบแทน และสวัสดิการที่เหมาะสม (ข) พัฒนาสมรรถนะการบริการระดับปฐมภูมิของพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 77.08): ต้องมีการพัฒนาตนเอง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาลพระปกเกล้า | th_TH |
dc.subject | พยาบาล--การโอนย้าย | th_TH |
dc.title | การเปลี่ยนงานของพยาบาลวิชาชีพจากกลุ่มภารกิจด้านการพยาบาลสู่กลุ่มภารกิจด้านบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลพระปกเกล้า จังหวัดจันทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | Job transition of professional nurses from departments of nursing service to departments of primary care service, Phrapokklao Hospital, Chantaburi Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | The purposes of this research were to explore 1) Job transition needs of professional nurses from departments of nursing service to departments of primary care service at Phrapokklao Hospital in Chantaburi Province, 2) factors affecting the job transition, and 3) guidelines for the job transition preparation. This mixed-methods study, participants consisted of 259 professional nurses. These participants were selected by randomized systemic sampling to respond to the self-administrated questionnaires, eight of whom were purposively selected to participate in focus group discussion session. Questionnaires and focus group discussion guidelines were used as research tools. The validities of the research tools were between 0.60-1.00. The quantitative data were analyzed using descriptive statistics, while qualitative data were analyzed by content analysis. The results of the study revealed that 1) around 18.53% of professional nurses desired to transit their jobs from departments of nursing service to departments of primary care service. Demands of their job transition comprised three areas including transferring to a community nursing department, moving on to other units in the organization, and changing to another workplace outside the institution. 2) Factors leading to the job transition comprised 3 areas including (1) new workplace transition (85.42%): remaining working as nurses; (2) job characteristics (79.17%): dealing with overload and stressful jobs (79.17%); and family necessities (68.75%): accounting for several family responsibilities. Finally, guidelines for job transition preparation were divided into 2 levels: the organizational and the personal. The guidelines for organizational level included (1) community management support (77.08%): adjusting the service system to become proactive; and (2) sufficient manpower preparation (75.00%): analyzing jobs and manpower. At the personal level, there were 2 guidelines that comprised (1) benefits gain from the job transition (85.42%): planning career paths and appropriate compensation and welfares; and (2) developing primary care competencies of nurses (77.08%): being improved themselves | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 20.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License