Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฬารัตน์ ธรรมประทีปth_TH
dc.contributor.authorสุนิสา เพชรรัตน์, 2537-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2024-11-11T08:17:29Z-
dc.date.available2024-11-11T08:17:29Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12943-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม (วิทยาศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนละแมวิทยา ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกลวิธีการโต้แย้ง เรื่อง ระบบนิเวศ และ 2) ศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้รวมกับกลวิธีการโต้แย้งที่พัฒนาสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบนิเวศ กลุ่มที่ศึกษา เป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกลวิธีการโต้แย้ง แบบวัดสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ อนุทินสะท้อนความคิด ใบกิจกรรมของนักเรียน และแบบบันทึกประสบการณ์การเรียน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าความถี่รอยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏวา 1) หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกลวิธีการโต้แย้ง นักเรียนทุกคนมีการพัฒนาสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์สูงขึ้น ความสามารถที่นักเรียนมีพัฒนาการมากที่สุด คือ ความสามารถการแปลงข้อมูลที่นำเสนอในรูปแบบหนึ่งไปสู่รูปแบบอื่น นักเรียนมีความสามารถอยู่ในระดับดี ร้อยละ 21.62 และระดับผ่านร้อยละ 72.97 และ 2) แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกลวิธีการโต้แย้ง ที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ มีดังนี้ (1) การเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ออกแบบตารางบันทึกผลกิจกรรมและได้แปลงข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ทำให้นักเรียนมีโอกาสพิจารณาข้อมูลมากกว่าหนึ่งครั้งและสามารถเลือกหลักฐานจากข้อมูลมาสนับสนุนข้อสรุปและเชื่อมโยงเหตุผลได้ และ (2) การที่นักเรียนแปลงข้อมูลในรูปแบบต่างๆ และเชื่อมโยงหลักฐานเข้าด้วยกัน ทำให้นักเรียนสามารถลงข้อสรุปได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectการแปลและการตีความth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectวิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอนth_TH
dc.titleการพัฒนาสมรรถนะการแปลความหมายข้อมูลและประจักษ์พยานในเชิงวิทยาศาสตร์ ด้วยวิธีการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับกลวิธีการโต้แย้ง เรื่อง ระบบนิเวศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนละแมวิทยา จังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeThe development of Interpret data and evidence scientifically competency in the topic of ecosystem for grade 9 students by using argument-driven inquiry model at Lamaewittaya School, Chumphon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were 1) to enhance interpret data and evidence scientifically competency of grade 9 students at Lamaewittaya School, Chumphon Province by using the argument-driven inquiry model in the topic of ecosystems and 2) to identify effective practices in learning management utilizing the argument-driven inquiry model to develop the interpret data and evidence scientifically competency in the topic of Ecosystem. The participants were 37 grade 9 students in the first semester of the academic year 2022. The research tools were: learning management plans using the argument-driven inquiry model, a test on interpret data and evidence scientifically competency, teacher's journals, students' worksheets, and students' learning experience recording forms. The data were analyzed using frequency, percentage, and content analysis The research findings revealed that 1) all students had improved their interpret data and evidence scientifically competency after learning through the argument-driven inquiry model. The ability that students develop the most is the ability to transform data presented in one form to another. 21.62% of the students was at a good competency level while 72.97% of the students had the competency at the pass level. 2) The best practices of the argument-driven inquiry model were found as follows: (1) allowing students an opportunity to design tables for recording activity results and transfer data into various formats allows students to analyze the data multiple times and to select evidence from the data to make their conclusions and support their reasons; (2) enabling students to transform data into different formats and link the evidence helps them to be able to draw conclusions.en_US
dc.contributor.coadvisorดวงเดือน สุวรรณจินดาth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.66 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons