Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12952
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | วิภาวัน แสงสวี, 2537- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2024-11-18T07:03:40Z | - |
dc.date.available | 2024-11-18T07:03:40Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/12952 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม (วิทยาศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2565 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ความมีวินัยในตนเองเจตคติทางวิทยาศาสตร์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และกรอบความคิดแบบเติบโต กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 2) สร้างสมการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิทยาศาสตร์-จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี ที่ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น จำนวน 209 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่แบบประเมินตัวแปรที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมีของนักเรียน ประกอบไปด้วย 1) ความมีวินัยในตนเอง (Z1) 2) เจตคติทางวิทยาศาสตร์ (Z2) 3) เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ (Z3) 4) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ (Z4) และ 5) กรอบความคิดแบบเติบโต (Z6) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และ สหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) ตัวแปรทุกตัวมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 01 โดยแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันมากที่สุดเท่ากับ .598 และ 2) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มากที่สุด ซึ่งตัวแปรที่ได้ศึกษาสามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมีของนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 37.40 ซึ่งสามารถสร้างสมการถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้ Z = -. 132(Z1) -. 106(Z2) + .070(Z3) + .646(Z4) + .095(Z,). | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--เพชรบุรี | th_TH |
dc.subject | เคมี--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน--เคมี | th_TH |
dc.title | การศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย เพชรบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | A study of variables affecting learning achievement in Chemistry of students at the upper secondary level of Princess Chulabhorn Science High School Phetchaburi | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to 1) examine the relationships of self- discipline, scientific attitudes, attitudes towards science, achievement motivation, and growth mindset with the Chemistry learning achievement of students at the upper secondary level; and 2) to create equation forecasting Chemistry learning achievement of students at the upper secondary level. The samples were the 209 students at the upper secondary level from Princess Chulabhorn Science High School Phetchaburi obtained by stratified random sampling. The research instrument was the assessment form of variables affecting Chemistry learning achievement of the students which include 1) self – discipline (Z1), 2) scientific attitudes (Z2), 3) attitudes towards science (Z3), 4) achievement motivation (Z4) and 5) growth mindset (Z5). The statistics used in analyzing the data were mean, standard deviation, Pearson Correlation Coefficient, and Multiple Correlation. The result of this research showed that 1) all variables have a relation with the Chemistry learning achievement at the .01 level of statistical significance. The achievement motivation has the highest Pearson's correlation coefficient of .598; and 2) The achievement motivation had the most effect on the Chemistry learning achievement of the students at the upper secondary level. The variables studied could together describe the variation in the Chemistry learning achievement of the students, accounting for 37.40 percent, which could create the regression equation in standard score as follows: Z′ = -.132(Z1) - .106(Z2) + .070(Z3) + .646(Z4) + .095(Z5) | en_US |
dc.contributor.coadvisor | นวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
FULLTEXT.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License